• Tidak ada hasil yang ditemukan

DEVELOPMENT OF A WORK ENGAGEMENT MODEL TO STRENGTHEN INDUSTRIAL HABITS AS NEED OF ESTABLISMENT FOR HIGHER VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS UNDER THE DUAL VOCATIONAL TRAINING SYSTEM IN THE EASTERN ECONOMIC CORRIDOR

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "DEVELOPMENT OF A WORK ENGAGEMENT MODEL TO STRENGTHEN INDUSTRIAL HABITS AS NEED OF ESTABLISMENT FOR HIGHER VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS UNDER THE DUAL VOCATIONAL TRAINING SYSTEM IN THE EASTERN ECONOMIC CORRIDOR"

Copied!
300
0
0

Teks penuh

ของการตั้งถิ่นฐานของนักศึกษาหลักสูตรทวิภาคี หมวดวิชาอุตสาหกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยภาคอุตสาหกรรมที่จำเป็นต่อการจัดให้มีการอุทธรณ์นักศึกษาในระบบทวิวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาหลักสูตรอาชีวศึกษาแบบทวิภาค ปีการศึกษา 2564 จำนวน 11 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลการวิจัยพบว่า (1) นิสัยอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ ขยัน อดทน ทะเยอทะยาน ประหยัด เห็นแก่ส่วนรวม ซื่อสัตย์ สร้างสรรค์ ทำงานเป็นทีม และคำนึงถึงความปลอดภัย

เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงแรงงาน (NLIC) ข้อมูลส ารวจภาวะการท างานของประชากร (Labor Force Survey:LFS) ข้อมูลของกระทรวงศึกษาและข้อมูลจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พบว่า การประมาณค่าความต้องการแรงงานในพื้นที่ EEC ใน 10 ปี ข้างหน้า (พ.ศ มีความต้องการจ้างงานเพิ่มจากการจ้างงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันอีกจ านวน 191,119 คน โดยกลุ่มที่มีความต้องการจ้างงานเพิ่มสูงสุด คือวุฒิวิชาชีพมีความต้องการจ้างงาน เพิ่ม 83,183 คน และวุฒิปริญญาตรี มีความต้องการจ้างงานเพิ่ม 62,8979 คน จากข้อมูลศูนย์. ข้อมูลแรงงานแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน พบว่าจ านวนสถานประกอบการในพื้นที่เขตระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เดือนธันวาคม 2561 มีจ านวน 37,846 แห่ง โดยสถานประกอบการ. สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบันมีข้อจ ากัดทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ ปัญหา ความไม่สอดคล้องระหว่างความต้องการก าลังคนและการผลิตก าลังคนของประเทศเกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ภาคอุตสาหกรรมต่างก็ได้รับผลกระทบจากทักษะแรงงานที่สถาบันการศึกษาผลิตบัณฑิต ไม่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ ซึ่งสถานประกอบการจ านวนมากได้สะท้อนปัญหา คุณภาพ คุณลักษณะและทัศนคติในการท างานของแรงงานที่ลดทอนประสิทธิภาพในการท างาน ส่งผลต่อผลผลิตของสถานประกอบการ อาทิ ขาดความรับผิดชอบ ขาดความมุ่งมั่นอดทนในการ ท างาน ขาดระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา มีแนวโน้มที่จะพบปัญหาด้านคุณลักษณะของแรงงานที่. Soft Skills) เป็นนิสัยหรือพฤติกรรมในการท างานซึ่งเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของแรงงานที่สถาน ประกอบการต้องการแต่มักจะถูกละเลย ขาดการปลูกฝังและพัฒนา ซึ่งการเตรียมทรัพยากรบุคคล ออกสู่ตลาดแรงงานนั้นจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเน้นการเสริมสร้างและพัฒนาคนในเชิงคุณธรรม จริยธรรมให้มากพอๆกับการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการและวิชาชีพ โดยแรงงานมืออาชีพที่สถาน ประกอบการมีความต้องการนั้นจะต้องมีทักษะทางวิชาชีพมีการติดต่อสื่อสารได้ดี สามารถใช้. ดังนั้นเรื่องของนิสัยอุตสาหกรรมนับว่าเป็นสิ่งส าคัญและจ าเป็นส าหรับแรงงานในการ ประกอบอาชีพต่างๆ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมถ้าแรงงานปราศจากนิสัยอุตสาหกรรมแล้วก็. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และผ่านการตรวจสอบจาก. 2.1 รูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ของนักศึกษาฯ เป็นอย่างไร. 2.2 รูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ของนักศึกษาฯ มีประสิทธิภาพอย่างไร. รูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของ. 3.2 ภายหลังที่นักศึกษาฯไม่ได้รับการพัฒนาโดยรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่น ผูกพันในงาน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ยังคงมีความคงทนของนิสัยอุตสาหกรรมหรือไม่อย่างไร. 3.3 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของนิสัยอุตสาหกรรม มีลักษณะเป็นอย่างไร ความมุ่งหมายของการวิจัย. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงาน เพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก. เพื่อทดลองใช้และหาประสิทธิผลรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงาน เพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก. ด้านนโยบาย การวิจัยนี้ท าให้ได้รูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก ที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้ก าหนดเป็นนโยบายการบริหารภายในสถานศึกษา และ ด้านความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการเพื่อตอบสนองการเตรียมความพร้อม ในการผลิตแรงงานให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ และสอดคล้องกับนโยบายของ ประเทศ. ด้านการน าไปใช้ การวิจัยนี้ท าให้ได้รูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกที่เหมาะสมต่อการน าไปใช้กับสถานศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมและ พัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาที่เป็นก าลังส าคัญของชาติ และครูฝึกในสถานประกอบการสามารถใช้. การพัฒนารูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความ ต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี. ระยะที่ 1 การประเมินความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของ นักศึกษาระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก. ขอบเขตด้านกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง. ขอบเขตด้านระยะเวลา. ระยะที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพัน ในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยจ าแนกดังนี้. สร้างรูปแบบการพัฒ นาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัย อุตสาหกรรม และตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของ นักศึกษาฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรฐานการประเมิน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความเป็นประโยชน์. Utility Standards) ด้านความเป็นไปได้ (Feasibility Standards) ด้านความเหมาะสม (Propriety Standards) ด้านความถูกต้อง (Accuracy Standards) และด้านความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้. ความต้องการแรงงานเพิ่มขึ้นท าให้เกิดความต้องการก าลังคนในภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น ซึ่ง ปัจจุบันในประเทศไทยเริ่มปรับเปลี่ยนจากภาคเกษตรกรรมสู่ภาคอุตสาหกรรม และเปลี่ยนจาก แรงงานทักษะต ่าไปสู่แรงงานที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูงเพื่อสนับสนุนโครงการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ จากข้อมูลกองเศรษฐกิจ การแรงงาน ส านักปลัดกระทรวงแรงงานได้ศึกษาวิเคราะห์ฐานข้อมูลแรงงานและประมาณการ ความต้องการแรงงานของอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โดยมีกรอบการศึกษาจากฐานข้อมูลด้านแรงงานของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงแรงงาน (NLIC) ข้อมูลส ารวจภาวะการท างานของประชากร (Labor Force Survey:LFS) ข้อมูลของ กระทรวงศึกษาและข้อมูลจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พบว่า การประมาณค่าความต้องการ แรงงานในพื้นที่ EEC ใน 10 ปี ข้างหน้า (พ.ศ มีความต้องการจ้างงานเพิ่มจากการ จ้างงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันอีกจ านวน 191,119 คน โดยกลุ่มที่มีความ ต้องการจ้างงานเพิ่มสูงสุด คือวุฒิวิชาชีพมีความต้องการจ้างงานเพิ่ม 83,183 คน และวุฒิ.

เปรียบเทียบรูปแบบการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการท างาน

1. มาตราส่วนการมีส่วนร่วมในการทำงานของ Utrecht (UWES) ได้รับการพัฒนาโดย Schaufeli และคณะ 1. คำอธิบายของ Kohlberg เกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรม (Kohlberg, 1976, pp. 33-36) เป็นพื้นฐานในการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนตระหนักถึงจริยธรรมโดยใช้สถานการณ์ที่หลากหลาย กระตุ้นให้นักเรียนอภิปรายอย่างอิสระและมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน

แสดงวัตถุประสงค์ วิธีด าเนินการ และผลลัพธ์จากการวิจัย

แสดงกลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูล

ข้อค าถามในประเด็นความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษา

สรุปสาระส าคัญขององค์ประกอบของรูปแบบ

ตัวอย่างแบบประเมินความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ

ตัวอย่างแบบประเมินความเป็นไปได้ของรูปแบบ

ตัวอย่างแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ

ตัวอย่างแบบประเมินความถูกต้องของรูปแบบ

ตัวอย่างแบบประเมินความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของรูปแบบ

แบบแผนการทดลองการใช้รูปแบบฯ

โครงสร้างของกิจกรรมและเวลาในการด าเนินการ

ประสิทธิภาพถ้าเป็นพื้นฐานโดยทั่วไปก็คงเป็นเรื่องของความประหยัด ต่างกันที่พลังงานในการทำงาน การใช้น้ำ และไฟฟ้า แต่ถ้าในที่นี้ดูที่ผลงาน ของเสียอย่างระมัดระวัง หากเราคิดว่าเราประหยัดเครื่องมือ ประหยัดเวลาของวงจร เราจะเพิ่มผลผลิต สังเกตว่าการนำความรู้ไปใช้จริงนั้นเป็นอย่างไร 7) การรับรู้ความปลอดภัย

แสดงจ านวนและร้อยละข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษา

สรุปผลการประเมินความต้องการจ าเป็นเกี่ยวกับนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษา

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาระบบทวิภาคี

ผลคะแนนก่อนใช้รูปแบบและหลังใช้รูปแบบการเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ของ

กรอบแนวคิดในการวิจัย

แสดงความสัมพันธ์ของพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัยและจิต

การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

ขั้นตอนการด าเนินการ

ผลการประเมินความต้องการจ าเป็นโดยใช้การวิเคราะห์เมทริกซ์

ผลการวิเคราะห์เมทริกซ์ (Matrix Analysis)

ภาพจ าลองรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงาน

Referensi

Dokumen terkait

For more details, here are given a detailed explanation of the development of integrated learning practice models in vocational tourism are: (1) The facilities