• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงวัตถุประสงค์ วิธีด าเนินการ และผลลัพธ์จากการวิจัย

ระยะที่ วัตถุประสงค์ วิธีด าเนินการ ผลลัพธ์

ระยะที่ 1 การประเมินความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาระบบทวิภาคี

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่อประเมินความต้องการ

จ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรม ของนักศึกษาระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม เขตระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

1.การศึกษาข้อมูลเชิง คุณภาพโดยสัมภาษณ์

ผู้เชี่ยวชาญ

2.การศึกษาข้อมูลเชิง ปริมาณโดยการ ประเมินความต้องการ จ าเป็นของนิสัย อุตสาหกรรมของ นักศึกษา

ได้ข้อมูลพื้นฐานระดับ ความต้องการจ าเป็นฯ และลักษณะนิสัย อุตสาหกรรมตาม มุมมองของผู้มีส่วนได้

ส่วนเสีย ที่เหมาะสมกับ นักศึกษาระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ระบบทวิภาคี

ระยะที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ

เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพ รูปแบบการพัฒนาความยึดมั่น ผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้าง นิสัยอุตสาหกรรม ตามความ ต้องการจ าเป็นของสถาน ประกอบการของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภท วิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

1.ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.น าข้อมูลที่ได้ค่าดัชนี

ล าดับความส าคัญของ ความต้องการจ าเป็น จากระยะที่ 1 มาร่วม วิเคราะห์ด้วย 3.จัดสร้างรูปแบบฯ 4.ตรวจสอบ

ประสิทธิภาพรูปแบบ

ได้รูปแบบการพัฒนา ความยึดมั่นผูกพันใน งานเพื่อเสริมสร้างนิสัย อุตสาหกรรม ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ระบบทวิภาคี

ประเภทวิชา

อุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก

ตาราง 2 (ต่อ)

ระยะที่ วัตถุประสงค์ วิธีด าเนินการ ผลลัพธ์

ระยะที่ 3 ทดลองใช้และหาประสิทธิผลรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก

เพื่อทดลองใช้และหา

ประสิทธิผลรูปแบบการพัฒนา ความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของ สถานประกอบการ

ของนักศึกษา ระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม เขตระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

1.การประเมินผลก่อน ใช้รูปแบบ

2.การใช้รูปแบบกับ กลุ่มตัวอย่าง 3.การประเมินผลหลัง ใช้รูปแบบ

4.การประเมินผลหลัง ใช้รูปแบบ 4 สัปดาห์

ได้ผลการใช้รูปแบบการ พัฒนาความยึดมั่น ผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัย อุตสาหกรรม ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ระบบทวิภาคี

ประเภทวิชา

อุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก

ระยะที่ 1 การประเมินความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาระบบ ทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

การด าเนินการวิจัยในขั้นตอนนี้เป็นการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่คาดหวังและ สภาพปัจจุบัน เพื่อตอบค าถามการวิจัยที่ว่า “นิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาตามความต้องการ จ าเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีประกอบด้วยอะไรบ้าง” โดยมี

รายละเอียด ดังนี้

ความมุ่งหมายของการวิจัย

เพื่อศึกษานิสัยอุตสาหกรรมตามมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประเมินความ ต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบ ทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

วิธีด าเนินงาน

การด าเนินการวิจัยในระยะที่ 1 มีเป้าหมายเพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับนิสัย อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก การศึกษาข้อมูลพื้นฐานโดยการวิเคราะห์จากเอกสาร งานวิจัย และการศึกษา ความต้องการจ าเป็นจากความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ มีขั้นตอนการด าเนินการ ดังนี้

1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานโดยการวิเคราะห์จากเอกสาร งานวิจัย วิเคราะห์หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวกับนิสัยอุตสาหกรรม และใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth- interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อให้ได้นิสัย อุตสาหกรรมเบื้องต้นว่ามีอะไรบ้าง น าข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลในการ วิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อเป็นตัวก าหนดในการสร้างกรอบแนวคิดส าหรับสร้างรูปแบบการ พัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม (ณัฐพงษ์ โตมั่น. 2561; เกียรติ

อนันต์ ล้วนแก้ว. 2561; วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก. 2559; คณะกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้

จังหวัดชลบุรี. 2559; บุญสืบ โพธิ์ศรี และคณะ. 2559; บริษัทชิโคกุ (ประเทศไทย) จ ากัด. 2559;

สมบูรณ์ แซ่เจ็งและคณะ. 2559; วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี. 2558; ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. 2556;

ดวงนภา มกรานุรักษ์. 2554; ธวัชชัย ผ่องสุภาพ. 2545; ปัญจณี อุ้ยเฉ้ง. 2541; วิชา รัตนผลิน.

2540; อาทร จันทรวิมล. 2531)

2. น าผลที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสารและสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิมาสร้าง แบบสอบถามประเมินความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาฯ มีลักษณะเป็น มาตรประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ

3. ศึกษาวิเคราะห์สิ่งที่คาดหวังและสภาพปัจจุบัน ซึ่งการวิเคราะห์ในขั้นนี้เป็น การวิเคราะห์ประเด็นที่ต้องน ามาด าเนินการพัฒนาด้วยการวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap) ระหว่างสิ่งที่

คาดหวัง (Target) กับสภาพที่เป็นจริง (Actual) โดยใช้การวิเคราะห์ค่าดัชนีล าดับความส าคัญของ ความต้องการจ าเป็น (PNImodified) และพิจารณาเลือกค่าดัชนีล าดับความส าคัญความต้องการ

จ าเป็น (PNImodified ) ที่ต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุงอย่างยิ่งมาสร้างเป็นรูปแบบการพัฒนาความยึด มั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาต่อไป

ขอบเขตด้านกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ

ส าหรับเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth- interview) เพื่อให้ได้มาซึ่งนิสัยอุตสาหกรรมเบื้องต้นผู้วิจัยเลือกผู้ทรงคุณวุฒิแบบเจาะจง (purposeful sampling) ด้วยการก าหนดคุณสมบัติแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ

1. กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากสถานศึกษา ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นผู้ด ารงต าแหน่งผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและครูนิเทศ สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ส าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอนหรือการบริหารอาชีวศึกษา หรือมีประสบการณ์นิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 3 ปี ขึ้นไป จ านวน 2 คน และมีความยินดี

ให้ผู้วิจัยท าการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลวิจัย

2. กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากสถานประกอบการ ซึ่งมีคุณสมบัติส าเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงขึ้นไป มีประสบการณ์ท างานเป็นครูฝึกในสถานประกอบการ หรือ มีประสบการณ์เป็นผู้ดูแลนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ 1 ปี ขึ้นไป จ านวน 2 คน และมีความยินดีให้ผู้วิจัยท าการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลวิจัย

3. กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัย ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ที่สอนทางด้าน ช่างอุตสาหกรรม ทางด้านวิศวกรรม ที่ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก มีประสบการณ์ด้านการ สอนในระดับมหาวิทยาลัย 3 ปี ขึ้นไป จ านวน 1 คน และมีความยินดีให้ผู้วิจัยท าการสัมภาษณ์เพื่อ เก็บข้อมูลวิจัย

ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ส าหรับการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามเพื่อจัด อันดับความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรม ประกอบด้วยประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่อยู่ใน พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ดังนี้

ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาโดยคัดเลือกวิทยาลัยที่มีการจัดการเรียนการสอน ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม และมีนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบ ทวิภาคีฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ ดังนี้ จังหวัดชลบุรีประกอบด้วย 3 วิทยาลัย จ านวน 484 คน จังหวัดระยอง ประกอบด้วย 4 วิทยาลัย จ านวน 1,131 คน และจังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย 3 วิทยาลัย จ านวน 730 คน คน รวมทั้งสิ้น 2,345 คน(ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และก าลังคนอาชีวศึกษา. 2562 : online)

กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ระบบ ทวิภาคี ที่ก าลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ ซึ่งในการก าหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างนั้นผู้วิจัยได้เลือกเกณฑ์การก าหนดขนาดตัวอย่างจากตารางของ (Krejcie &

Morgan, 1970) ได้จ านวน 331 คน แต่เพื่อความสมบูรณ์ของงานวิจัยและป้องกันการขาดหาย ของการได้แบบสอบถามกลับคืน ผู้วิจัยจึงขอเพิ่มกลุ่มตัวอย่างเป็น จ านวน 350 คน โดยใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) มีขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 แบ่งขนาดวิทยาลัยทั้ง 3 จังหวัด เป็นขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ ตามการแบ่งขนาดวิทยาลัยของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกเฉพาะวิทยาลัยที่มีการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

ขั้นตอนที่ 3 เลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรในแต่ละวิทยาลัยตามสัดส่วน เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 350 คน แสดงดังตารางที่ 3