• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

๑๕. กรวดน ้าตอนเย็น อุททิสสนาธิฏฐานคาถา

(หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิษฐานะคาถาโย ภะณามะ เส)

บทที่ ๑

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้วยบุญนี้อุทิศให้

อุปัชฌายา คุณุตตะรา อุปัชฌาย์ผู้เลิศคุณ อาจะริยูปะการา จะ แลอาจารย์ผู้เกื้อหนุน มาตา ปิตา จะ ญาตะกา ทั้งพ่อแม่แลปวงญาติ

สุริโย จันทิมา ราชา สูรย์จันทร์และราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ ผู้ทรงคุณหรือสูงชาติ

พ๎รัห๎มะมารา จะ อินทา จะ พรหมมารและอินทราช โลกะปาลา จะ เทวะตา ทั้งทวยเทพและโลกบาล ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ ยมราชมนุษย์มิตร มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ ผู้เป็นกลางผู้จ้องผลาญ

สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ขอให้เป็นสุขศานติ์ทุกทั่วหน้าอย่าทุกข์ทน ปุญญานิ ปะกะตานิ เม บุญผองที่ข้าท าจงช่วยอ านวยศุภผล สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ให้สุขสามอย่างล้น

ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง ให้ลุถึงนิพพานพลัน

บทที่ ๒

เย เกจิ ขุททะกา ปาณา สัตว์เล็ก ทั้งหลายใด มะหันตาปิ มะยา หะตา ทั้งสัตว์ใหญ่ เราห ้าหั่น เย จาเนเก ปะมาเทนะ มิใช่น้อย เพราะเผลอผลัน กายะวาจามะเนเหวะ ทางกายา วาจาจิต

ปัญญัง เม อะนุโมทันตุ จงอนุโมทนา กุศล คัณหันตุ ผะละมุตตะมัง ถือเอาผลอันอุกฤษฏ์

เวรา โน เจ ปะมุญจันตุ ถ้ามีเวร จงเปลื้องปลิด สัพพะโทสัง ชะมันตะ เม อดโทษข้า อย่าผูกไว้

บทที่ ๓

ยังกิญจิ กุสะลัง กัมมัง กุศลกรรม อย่างใดหนึ่ง กัตตัพพัง กิริยัง มะมะ เป็นกิจ ซึ่งควรฝักใฝ่

กาเยนะ วาจามะนะสา ด้วยกาย วาจา ใจ

ติทะเส สุคะตัง กะตัง เราท าแล้ว เพื่อไปสวรรค์

เย สัตตา สัญญิโน อัตถิ สัตว์ใด มีสัญญา เย จะ สัตตา อะสัญญิโน หรือหาไม่ เป็นอสัญญ์

กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง ผลบุญ ข้าท านั้น สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต ทุกๆ สัตว์ จงมีส่วน เย ตัง กะตัง สุวิทิตัง สัตว์ใดรู้ ก็เป็นอัน ทินนั ปุญญะผะลัง มะยา ว่าข้าให้ แล้วตามควร เย จะ ตัตถะ นะ ชานันติ สัตว์ใด มิรู้ถ้วน เทวา คันตวา นิเวทะยุง ขอเทพเจ้าจงเล่าขาน สัพเพ โลกันหิ เย สัตตา ปวงสัตว์ในโลกีย์

ชีวันตาหาระเหตุกา มีชีวิต ด้วยอาหาร มะนุญญัง โภชะนัง สัพเพ จงได้โภชน์ส าราญ ละภันตุ มะมะ เจตะสา ตามเจตนา ข้ออาณัติ

บทที่ ๔

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้วยบุญนี้ที่เราท า อิมินา อุททิเสนะ จะ แลอุทิศให้ปวงสัตว์

ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ เราพลันได้ซึ่งการตัด ตัณหุปาทานะเฉทะนัง ตัวตัณหาอุปาทาน เย สันตาเน หินา ธัมมา สิ่งชั่วในดวงใจ ยาวะ นิพพานะโต มะมัง กว่าเราจะถึงนิพพาน นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ มลายสิ้นจากสันดาน ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว ทุก ๆ ภพที่เราเกิด

อุชุจิตตัง สะติปัญญา มีจิตตรงและสติทั้งปัญญาอันประเสริฐ สัลเลโข วิริยัมหินา พร้อมทั้งความเพียรเลิศเป็นเครื่องขูดกิเลสหาย มารา ละภันตุ โนกาสัง โอกาสอย่าพึงมีแก่หมู่มารสิ้นทั้งหลาย กาตุญจะ วิริเยสุ เม เป็นช่องประทุษร้ายท าลายล้างความเพียรจม พุทธาธิปะวะโร นาโถ พระพุทธผู้บวรนาถ

ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม พระธรรมที่พึ่งอุดม นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ พระปัจเจกะพุทธสม สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง ทบพระสงฆ์ที่พึ่งผยอง เตโสตตะมานุภาเวนะ ด้วยอานุภาพนั้น มาโรกาสัง ละภันตุ มา ขอหมู่มาร อย่าได้ช่อง ทะสะปุญญานุภาเวนะ ด้วยเดชบุญทั้งสิบป้อง มาโรกาสัง ละภันตุ มา อย่าเปิดโอกาสแก่มาร (เทอญ) วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน

ขั้นตอนแรกของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน คือ การยืน ยืนโดยเอามือไขว้หลัง มือขวา จับข้อมือข้างซ้าย วางในระดับเอว ยืนตัวตรงและมองตรงไปข้างหน้า ไม่ต้องเกร็งท าตัวให้ผ่อนคลาย เป็นธรรมชาติ แล้วหลับตาลงช้า ๆ จากนั้นให้ก าหนดรู้ตัว รู้ว่าอยู่ในอิริยาบถยืน ออกไปก าหนดจิต อยู่กับปัจจุบันแล้วเอาสติไว้ที่กระหม่อมไล่ลงมาเหมือนกับว่าเอาจิตส ารวจทั่วร่างกาย แล้วก าหนด ในใจว่ายืน พร้อม ๆ กับเลื่อนจิตให้มาอยู่ที่สะดือ แล้วหยุดและหายใจลึก ๆ หนึ่งครั้ง จากนั้นค่อย ๆ เลื่อนจิตจากสะดือลงมาที่ปลายเท้า พร้อม ๆ กับก าหนดว่า หนอ เป็นหนึ่งรอบ จากนั้นให้เลื่อนจิต จากปลายเท้าขึ้นไปถึงสะดือ พร้อม ๆ กับก าหนดว่า ยืน แล้วหยุดหายใจลึก ๆ หนึ่งครั้ง จากนั้นค่อย ๆ เลื่อนจิตจากสะดือขึ้นไปที่กระหม่อมพร้อม ๆ กับก าหนดว่า หนอ เป็นรอบที่สอง ท าเช่นนี้จนครบ 5 รอบ และเมื่อลง หนอ ครั้งสุดท้าย สติก็จะไปอยู่ที่ปลายเท้า แล้วส ารวมสติไว้ที่ปลายเท้าผู้ปฏิบัติต้อง คอยระวัง อย่าเอาจิตไปไว้ที่ปลายจมูก ไม่ต้องไปกังวลเรื่องการหายใจ หรือไปติดตามลมหายใจ

เข้า-ออก พยายามก าหนดปัจจุบันให้มากที่สุดเท่าที่ท าได้ ส ารวมความคิดไว้กับตัว อย่าคิดฟุ้งซ่าน ออกไปข้างนอก เมื่อก าหนดยืนหนอครบห้าครั้งแล้วให้ลืมตาช้า ๆ มองที่ปลายเท้า

ขั้นตอนที่สองของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน คือ การเดินจงกรม ให้ส ารวมจิตไว้ที่

ปลายเท้า ก าหนด ขวา ย่างหนอ ในใจ ขณะก าหนดว่า ขวา ให้ยกส้นเท้าขวา สูงจากพื้นประมาณ 2 นิ้ว การเคลื่อนไหวและการก าหนดต้องไปพร้อม ๆ กันจึงจะได้ปัจจุบัน จากนั้นเลื่อนเท้าขวาไป

ข้างหน้าช้า ๆ พร้อมกับก าหนดในใจว่า ย่าง วางเท้าขวาลงบนพื้นพร้อมกับก าหนดว่าหนอ เมื่อเท้า สัมผัสพื้น ก าหนดที่เท้าซ้าย ท าแบบเดียวกับเท้าขวาด้วยการก าหนดว่า ซ้าย ย่าง หนอ ขณะเดินแต่

ละก้าว เท้าซ้ายกับเท้าขวาควรห่างกันไม่เกิน 8 นิ้ว เพื่อช่วยให้เกิดความสมดุลในการทรงตัว เมื่อผู้

ปฏิบัติเดินจนสุดทางแล้วเท้าทั้งสองก็จะมาเคียงคู่กัน ปลายเท้าเสมอกันในท่ายืน ศีรษะตั้งตรง หลับตาก าหนด ยืนหนอ ห้าครั้งดังที่กล่าวไว้แล้ว จากนั้นให้ก าหนดลืมตา ก้มมองที่เท้า เตรียม ก าหนดกลับ โดยก าหนดในใจว่า กลับหนอ 8 ครั้ง กลับหนอครั้งที่ 1 ให้หมุนปลายเท้าขวาไปทิศ ขวามือ 45 องศา กลับหนอครั้งที่ 2 ให้ยกเท้าข้างซ้ายไปวางใกล้กับเท้าขวา กลับหนอ ครั้งที่ 3,4,5 ท าเหมือนครั้งที่ 1 ครั้ง 4,5,6 ท าเหมือนครั้งที่ 2 ตามล าดับ เมื่อก าหนดกลับเสร็จแล้ว เงยหน้า ศีรษะ ตั้งตรง หลับตา ก าหนด ยืนหนอ 5 ครั้ง ลืมตา แล้วปฏิบัติต่อไป ขณะเดินจงกรมให้เดินช้า ๆ และ ตามรู้การเคลื่อนไหวทุกย่างก้าว ทอดสายตาลงไปที่พื้นข้างหน้าห่างออกไปพอประมาณ ขณะก้ม

มองอาจปวดที่คอและหลัง เมื่อเกิดอาการเช่นนี้ ให้มองไปข้างหน้า ห่างจากปลายเท้าประมาณ 2 เมตร การท าเช่นนั้นจะไม่ท าให้เสียการควบคุมสัมปชัญญะและส่งผลให้การนั่งมีสมาธิดียิ่งขึ้น สัจ

ธรรมจะปรากฏขึ้นเมื่อจิตได้จดจ่ออยู่กับสมาธิที่ดิ่งลึก เมื่อเราเดินจนครบเวลาที่ก าหนดแล้ว การก าหนดเดินมีระยะต่าง ๆ 6 ระยะ ดังนี้

ท่า ยืน ท่ากลับ

ท่าเดิน ระยะ 1 ขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอ ท่าเดิน ระยะ 2 ยกหนอ เหยียบหนอ

ท่าเดิน ระยะ 3 ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอ

ท่าเดิน ระยะ 4 ยกซ่นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอ ท่าเดิน ระยะ 5 ยกซ่นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอ

ท่าเดิน ระยะ 6 ยกซ่นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอ

ขั้นตอนที่สามของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน คือ การนั่ง เมื่อนั่งให้ก าหนดสติไว้ที่

สะดือ หรือก าหนดห่างจากสะดือขึ้นมาไม่เกิน 2 นิ้ว เอาสติคอยตามรู้สิ่งที่เกิดขึ้น เมื่อหายใจเข้าท้อง พองให้ก าหนดว่าพองหนอ เมื่อหายใจออกท้องยุบก็ก าหนดว่า ยุบหนอ เราก าหนดไปตามที่มัน

เกิดขึ้นจริง ๆ ถ้าเราเห็นไม่ชัดเจนก็ก าหนดรู้ว่าไม่ชัด เมื่อเห็น (การพองยุบของท้อง) ชัดเจนแล้วคือ พองหนอ เราก็จะสามารถเพ่งและก าหนดการเกิดขึ้นของมันว่า พองหนอ พองหนอ เมื่อท้องยุบ เรา ก็ก าหนดว่า ยุบหนอ ยุบหนอ เราก าหนดไปตามที่มันเกิดขึ้นจริง ๆ ห้ามบังคับให้มันเกิดหรือไป ควบคุมมันว่าอะไรก าลังเกิดขึ้น ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติและก าหนดรู้การเกิดขึ้นของมัน ปฏิบัติอย่างนี้ไปจนหมดเวลานั่ง ซึ่งก าหนดไว้เท่ากับเวลาเดิน เมื่อเสร็จจากการเดินแล้ว ให้ก าหนด ยืนหนอ 5 ครั้ง ก่อนแล้วจึงนั่ง ขณะปล่อยมือลงก าหนดว่า ปล่อยหนอ เมื่อแขนทั้งสองถูกปล่อยลง มาแล้ว จึงค่อย ๆ ย่อตัวลงเพื่อจะนั่งก าหนดว่า ลงหนอ เมื่อมือสัมผัสพื้น ก าหนดว่า ถูกหนอ คุกเข่า ลงช้า ๆ ก าหนดว่า คุกเข่าหนอ เมื่อคุเข่าลงบนพื้นแล้ว ให้เคลื่อนไหวช้า ๆ ในท่านั่ง ก าหนด นั่ง หนอ เพื่อจะนั่งในท่าขัดสมาธิ งอเข่าซ้ายและไขว้เท้าไปทางขวา งอเข่าขวาและวางเท้าขวาไว้บน น่องข้างซ้าย วางมือขวาทับมือซ้าย หน้าและศีรษะตั้งตรง หลับตาลงช้า ๆ พยายามเพ่งสติให้ต่อเนื่อง และได้ปัจจุบัน จากนั้นให้ก าหนดที่สะดือและบริเวณรอบๆสะดือประมาณ 2 นิ้ว ทั้งซ้าย-ขวา บน-ล่าง ก าหนดดูการเคลื่อนไหวของท้อง การพองและการยุบ เมื่อหายใจเข้าลึก ๆ ท้องจะค่อย ๆ พองขึ้น และเมื่อหายใจออกยาว ๆ ท้องจะค่อย ๆ ยุบลง เมื่อเรารู้อาการพองยุบแล้ว ให้เอาจิตไว้ที่สะดือและ เฝ้าดูอาการพองยุบของท้อง ให้พิจารณาเฉพาะอาการเคลื่อนไหวของท้องเท่านั้น

แนวคิดเกี่ยวกับการชี้น าตนเอง

การเรียนรู้โดยชี้น าตนเอง (Self-directed Learning)

ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ (2544) รวบรวมแนวคิดของนักคิด นักวิชาการที่ได้กล่าวถึงการ เรียนรู้โดยชี้น าตนเองไว้หลายท่าน ดังนี้

โนรีส (Knowles, 1975) ให้ความหมายของการเรียนรู้แบบชี้น าตนเองว่า เป็น กระบวนการที่บุคคลคิดริเริ่มเอง ในการวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้ ก าหนดจุดมุ่งหมาย เลือกวิธีการเรียนจนถึงการประเมินความก้าวหน้าการเรียนรู้ของตัวเอง

โนรีส (Knowles, 1975) ให้ข้อคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยการชี้น าตนเอง สรุปได้ดังนี้

1. ผู้ที่เริ่มเรียนรู้ด้วยตนเอง จะเรียนรู้ได้มากกว่าและดีกว่าผู้ที่รอรับจากผู้อื่น ผู้เรียนที่

เรียนรู้โดยชี้น าตนเองจะเรียนอย่างตั้งใจ อย่างมีจุดมุ่งหมายและอย่างมีแรงจูงใจสูง นอกจากนั้นยัง ใช้ประโยชน์จากการเรียนรู้ได้ดีกว่าและยาวนานกว่าผู้ที่รอรับความรู้

2. การเรียนรู้โดยชี้น าตนเอง สอดคล้องกับการจิตวิทยาพัฒนาการ กล่าวคือ เด็กตาม ธรรมชาติต้องพึ่งพิงผู้อื่นและต้องการผู้ปกครองปกป้องเลี้ยงดูและตัดสินใจแทน เมื่อเติบโตเป็น ผู้ใหญ่ก็พัฒนาขึ้นให้มีความอิสระ พึ่งพิงจากภายนอกลดลง และเป็นตัวเองจนมีคุณลักษณะการชี้น า ตนเอง