• Tidak ada hasil yang ditemukan

กระบวนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตามวงจร PDCA

2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพ เป็นการด าเนินงานเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน ก ากับ

ติดตามความก้าวหน้า และยืนยันการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม เป้าหมายและบรรลุตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยการติดตามตรวจสอบคุณภาพสามารถด าเนินงานใน แต่ละระดับ ได้ดังนี้

(1) การติดตามตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาตั้ง

คณะท างานขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ การด าเนินงาน/โครงการ ตลอดปีการศึกษาทั้งด้านการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการจัดการเรียนการสอน คุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา และด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ จัดท าเป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถนาผลไปใช้ใน การปรับปรุงและพัฒนาได้ทันท่วงที และเป็นข้อมูลส าหรับประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาได้

Plan

Check

Do Act

- ก าหนดปัญหา - หาสาเหตุ

- วางแผนร่วมกัน

เก็บข้อมูล ยืนยันผลลัพธ์

บันทึกผล - ปรับปรุง

ระบบ/วิธีการ ท างาน - ปรับปรุง มาตรฐาน/

มาตรการ

- ลงมือปฏิบัติ

28 (2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบสถานศึกษา เพื่อให้การส่งเสริมสนับสนุนและช่วยเหลือให้สถานศึกษา สามารถด าเนินการพัฒนาคุณภาพไปสู่เป้าหมายตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้ สถานศึกษาทุกแห่งควร ได้รับการติดตามตรวจสอบคุณภาพจากเขตพื้นที่การศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายใน 3 ปี ส าหรับ สถานศึกษาที่มีความเข้มแข็ง เขตพื้นที่การศึกษาควรส่งเสริมให้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยกย่อง สถานศึกษาที่มีรูปแบบการพัฒนาที่ดีให้เป็นตัวอย่างแก่สถานศึกษาแห่งอื่นได้ ส่วนสถานศึกษาที่มี

คุณภาพผู้เรียนต่ าหรือมีแนวโน้มต่ าลงอันเนื่องมาจากปัญหาต่างๆ เขตพื้นที่การศึกษาควรตั้ง คณะท างานเข้าไปช่วยเหลือสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ เขตพื้นที่

การศึกษาต้องท ารายงานติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเสนอต่อส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทราบด้วย

(3) การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน ภาพรวมระดับประเทศ โดยหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ คือ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อน าข้อมูลที่ได้มาประกอบการก าหนดนโยบาย เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และผลักดัน ให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ก าหนดมาตรฐานเพื่อยกระดับคุณภาพ สถานศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ส่งเสริมการมีส่วนรวมระหว่างสถานศึกษา เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพ สถานศึกษาให้บริหารและจัดการศึกษาได้อย่างเต็มที่

3) การประเมินและรับรองคุณภาพ เป็นการด าเนินงานเพื่อตรวจสอบผลการจัด การศึกษาของสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนที่เกี่ยวข้องกันดังนี้

(1) การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ของสถานศึกษา สถานศึกษาน าข้อมูลสารสนเทศมาประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่

ก าหนด (ตามระดับการศึกษาที่จัด ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย) จัดท าเป็นรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจ าปีของสถานศึกษา รายงาน ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด และรายงานต่อสาธารณชน

(2) การประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษา การประเมินในส่วนนี้เป็นการ ด าเนินงานโดยองค์กรภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ซึ่งเป็นองค์การมหาชน ทาหน้าที่ประเมินและให้การรับรองว่าสถานศึกษา จัดการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษาที่ก าหนดในทุกๆ 5 ปี ผลจากการประเมินในภาพรวมจะ น าเสนอรัฐบาล เพื่อน าไปใช้ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ การก าหนดทิศทางการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้ทัดเทียมนานาอารยประเทศ

29 การด าเนินการทั้ง 3 ประการ เป็นกระบวนการที่มีความสัมพันธ์และส่งผลซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ สามารถด าเนินการได้ทั้งในส่วนการพัฒนาคุณภาพและการ ประเมินคุณภาพ

จากระบบการประกันคุณภาพภายใน ดังกล่าวข้างต้น จึงสรุปได้ว่าระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นกลไกส าคัญประการหนึ่งที่จะขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้ด าเนินไปอย่างต่อเนื่อง และสร้างความมั่นใจ (Assure) ได้ว่า สถานศึกษาสามารถจัด การศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด ผู้ส าเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถและมี

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรก าหนดและที่สังคมต้องการ 2. ขั้นตอนการด าเนินงานประกันคุณภาพภายใน

จากมาตรา 47 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่ก าหนดว่า ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไป ตามที่ก าหนดในกฎกระทรวงนั้นได้น าไปสู่การจัดท ากฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2546 และมีการปรับปรุงใหม่ โดยรวมระบบการประกันคุณภาพ ภายในขององค์กรหลักที่รับผิดชอบการศึกษาในแต่ละระดับ (การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา และการอุดมศึกษา) และระบบการประกันคุณภาพภายนอกเข้าด้วยกัน โดยในส่วนของการศึกษาขั้น พื้นฐาน (ซึ่งรวมถึงการศึกษาปฐมวัยด้วย) นั้น ระบุว่าให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย การด าเนินงานโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม 8 ประการ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) ดังนี้

2.1 ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2.2 จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา

2.3 จัดระบบบริหารและสารสนเทศ

2.4 ด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.5 จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

2.6 จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2.7 จัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน

2.8 จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

โดยให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด าเนินการ ดังต่อไปนี้

(1) ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องให้ด าเนินการและถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกันในการ ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้

30 (1.1) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้

(1.2) พิจารณาสาระส าคัญที่ก าหนดในมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่สะท้อนอัตลักษณ์

และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา

(1.3) ก าหนดค่าเป้าหมายความส าเร็จของแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้

(1.4) ประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ว่าด้วยการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาให้กลุ่มผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกรับทราบ ทั้งนี้สถานศึกษาอาจ ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้

ได้

(2) จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา

สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องให้ด าเนินการและถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกันใน การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ดังนี้

(2.1) ให้สถานศึกษาจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ดังนี้

(2.1.1) ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจ าเป็นของ สถานศึกษาอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลตามสภาพจริง

(2.1.2) ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายด้านต่างๆ โดยมีจุดเน้นที่

คุณภาพผู้เรียน สะท้อนคุณภาพความส าเร็จที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

(2.1.3) ก าหนดวิธีการด าเนินงาน กิจกรรม/โครงการที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการวิจัย หรือ ผลการวิจัย หรือข้อมูลที่อ้างอิงได้ ให้

ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การ ส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุ

เป้าหมายตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้

(2.1.4) ก าหนดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากภายนอกที่ให้การ สนับสนุนทางวิชาการ

(2.1.5) ก าหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนให้บุคลากรของสถานศึกษาและ ผู้เรียน ร่วมรับผิดชอบและด าเนินงานตามที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

(2.1.6) ก าหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และท้องถิ่น

(2.1.7) ก าหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ให้

31 สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ

(2.1.8) เสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา และหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาให้ความ เห็นชอบ

(2.2) ให้สถานศึกษาจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ดังนี้

(2.2.1) จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา

(2.2.2) ให้ก าหนดปฏิทินการน าแผนปฏิบัติการประจ าปีไปสู่การปฏิบัติที่

ชัดเจน

(2.2.3) เสนอแผนปฏิบัติการประจ าปีต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา และหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาให้ความ เห็นชอบ

(2.3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ

สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องให้ด าเนินการและถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกัน ในการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดังนี้

(2.3.1) จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานของสถานศึกษาที่เอื้อต่อ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

(2.3.2) ก าหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่

ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ หรือการเชื่อมโยงเครือข่ายกับ หน่วยงานต้นสังกัด

(2.3.3) น าข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหารและการ พัฒนาการเรียนการสอน

(2.4) ด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องให้ด าเนินการและถือเป็นความรับผิดชอบ ร่วมกันในการด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้

(2.4.1) น าแผนปฏิบัติการประจ าปีแต่ละปีสู่การปฏิบัติตามกรอบ ระยะเวลา และกิจกรรม/โครงการที่ก าหนดไว้

(2.4.2) ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบตามที่ได้ก าหนดอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด

Garis besar

Dokumen terkait