• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ

ตาราง 5 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ

ต่อองค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 (N=5)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา

X

S.D. ระดับความเหมาะสม

องค์ประกอบที่ 1 การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

1.1 ใช้มาตรฐานการศึกษาเป็นเป้าหมายการพัฒนา 4.4 0.55 มาก 1.2 การก าหนดมาตรฐานการศึกษาระดับสถาน ศึกษาที่ครอบคลุม

สาระการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ สภาพผู้เรียนสถานศึกษา ท้องถิ่นและสอดคล้องกับมาตรฐาน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน

4.6 0.55 มากที่สุด

1.3 การประชุมคณะท างานเพื่อพิจารณาก าหนดมาตรฐานการศึกษา

ของโรงเรียน 4.6 0.55 มากที่สุด

1.4 การก าหนดขอบเขต บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบและ มาตรฐานการปฏิบัติของโรงเรียน/กลุ่มงาน/งาน ตามโครงสร้างการ บริหารจัดการ

4.8 0.45 มากที่สุด 1.5 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามขอบเขต บทบาท

หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4.4 0.55 มาก

1.6 การน าผลการประเมินมาใช้ในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนา

สมรรถนะบุคลากร 4.6 0.55 มากที่สุด

117 ตาราง 5 (ต่อ)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา

X

S.D. ระดับความเหมาะสม

1.7 การน ามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามาจัดการเรียนรู้ได้

เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและชุมชน 4.6 0.55 มากที่สุด 1.8 ครู บุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความรู้ และสามารถเชื่อมโยงเป้าหมาย

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.8 0.45 มากที่สุด

รวม 4.6 0.52 มากที่สุด

องค์ประกอบที่ 2 การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา

2.1 จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ชัดเจน 4.6 0.55 มากที่สุด 2.2 การก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าประสงค์ ประสงค์หรือ

เป้าหมายในการพัฒนาสอดคล้องกับนโยบายของสถานศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด พ.ร.บ.การศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. และนโยบายรัฐบาล

4.8 0.45 มากที่สุด

2.3 การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งเน้น คุณภาพการศึกษาโรงเรียนด าเนินการโดยยึดหลักการกระจายอ านาจ การมีส่วนร่วม และการน าไปสู่การปฏิบัติได้จริง

4.6 0.55 มากที่สุด 2.4 ตั้งคณะท างานยกร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ

สถานศึกษา 4.8 0.45 มากที่สุด

2.5 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการก าหนดวิสัยทัศน์ พันธ

กิจ เป้าหมายการพัฒนาและสภาพความส าเร็จของการพัฒนา 4.4 0.55 มาก 2.6 การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาให้

ข้อเสนอแนะและเห็นชอบ 4.6 0.55 มากที่สุด

2.7 ใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความจ าเป็นอย่าง เป็นระบบและมีแผนปฏิบัติราชการประจ าปีรองรับทั้งแผนระยะสั้น และระยะยาว

4.6 0.55 มากที่สุด

118 ตาราง 5 (ต่อ)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา

X

S.D. ระดับความเหมาะสม

2.8 การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ได้

ก าหนดกิจกรรมครอบคลุมการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านการ เรียนการสอน ด้านการบริหารและการจัดการศึกษาและด้านการ พัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้

4.8 0.45 มากที่สุด

รวม 4.65 0.51 มากที่สุด

องค์ประกอบที่ 3 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

3.1 การจัดโครงสร้างการบริหารที่ชัดเจน 4.4 0.55 มาก

3.2 การจัดครูและบุคลากรรับผิดชอบเหมาะสมตามโครงสร้างการ

บริหาร 4.6 0.55 มากที่สุด

3.3 การจัดระบบการบริหารที่ประกอบด้วยการวางแผน การน าแผน ไปสู่การปฏิบัติ การควบคุมก ากับ นิเทศ ติดตามประเมินผล ปรับปรุง และพัฒนา

4.6 0.55 มากที่สุด 3.4 การจัดปัจจัยพื้นฐาน บุคลากร อุปกรณ์ ครุภัณฑ์โปรแกรมและ

สิ่งอ านวยความสะดวกเพียงพอเหมาะสมและมีการสนับสนุนส่งเสริม ให้การพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง

4.8 0.45 มากที่สุด 3.5 การจัดเก็บและพัฒนาข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมงานด้าน

วิชาการ งบประมาณบุคลากร การบริหารทั่วไป และข้อมูลสนับสนุน งานอื่น ๆ

4.4 0.55 มาก 3.6 ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการที่มีความถูกต้อง

รวดเร็ว ครบถ้วน สมบูรณ์เป็นปัจจุบันทันสมัย 4.4 0.55 มาก

รวม 4.53 0.53 มากที่สุด

119 ตาราง 5 (ต่อ)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา X S.D. ระดับความ

เหมาะสม องค์ประกอบที่ 4 การด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

4.1 การปฏิบัติตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4.4 0.55 มาก 4.2 การปฏิบัติตามวิธีการด าเนินงานที่ก าหนดไว้โดยครอบคลุมด้าน

การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคคลและการบริหารทั่วไป

4.6 0.55 มากที่สุด 4.3 บุคลากรของสถานศึกษาทุกคน ผู้เรียน รวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

รับผิดชอบและด าเนินงานตามที่ก าหนดบทบาทหน้าที่ไว้ได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

4.4 0.55 มาก 4.4 ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ

พัฒนาผู้เรียนตามบทบาทหน้าที่และแนวทางที่ก าหนด 4.8 0.45 มากที่สุด 4.5 การใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ

สูงสุด 4.2 0.45 มาก

4.6 การประเมินผลการด าเนินงานตามแผนโดยใช้วงจรพัฒนา คุณภาพ การควบคุม ก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และการ ปรับปรุงและพัฒนา และการน าผลไปใช้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

4.6 0.55 มากที่สุด 4.7 การก ากับ ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามแผนและมี

การน าผลไปใช้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4.6 0.55 มากที่สุด 4.8 การระดมทรัพยากร จากแหล่งสนับสนุนงบประมาณตามที่ระบุ

ไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4.8 0.45 มากที่สุด

รวม 4.55 0.51 มากที่สุด

120 ตาราง 5 (ต่อ)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา

X

S.D. ระดับความเหมาะสม

องค์ประกอบที่ 5 การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

สถานศึกษา 4.4 0.55 มาก

5.2 การประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 4.6 0.55 มากที่สุด 5.3 การด าเนินการวางแผน การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไว้อย่าง

เป็นระบบ ต่อเนื่องเพื่อน าไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.4 0.55 มาก 5.4 การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของถานศึกษาด้านการ

ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4.8 0.45 มากที่สุด

5.5 การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.4 0.55 มาก

5.6 การจัดท าสารสนเทศเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของตัวชี้วัด และมาตรฐานการศึกษาที่บกพร่อง ที่พบจากการประเมินแต่ละครั้ง เพื่อปรับปรุงงาน

4.6 0.55 มากที่สุด 5.7 การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาโดยบุคลากรใน

สถานศึกษาและจากหน่วยงานต้นสังกัด 4.6 0.55 มากที่สุด

5.8 ก าหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน

อนาคตไว้ชัดเจน 4.8 0.45 มากที่สุด

รวม 4.58 0.52 มากที่สุด

121 ตาราง 5 (ต่อ)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา

X

S.D. ระดับความเหมาะสม

องค์ประกอบที่ 6 การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 6.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

พื้นฐานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา 5 0.46 มากที่สุด 6.2 การสร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่

ก าหนดเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ในการหาจุดที่จะพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป

5 0.48 มากที่สุด 6.3 การด าเนินการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา 4.6 0.55 มากที่สุด

6.4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 4.8 0.45 มากที่สุด

6.5 การแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของ

สถานศึกษาและท าการประเมินแบบข้ามฝ่าย กลุ่มงาน/งาน 4.4 0.55 มาก 6.6 เครื่องมือประเมิน ครอบคลุมการประเมินเกี่ยวกับด้านนักเรียน

ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง และข้อมูลที่ได้ครอบคลุมทุก มาตรฐานและตัวชี้วัด

4.6 0.55 มากที่สุด 6.7 การน าเครื่องมือที่สร้างขึ้นเก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพจริง 4.4 0.55 มาก 6.8 ด าเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา

จากผลการปฏิบัติงานพัฒนาโรงเรียนที่เป็นปกติ และสรุปผล 4.8 0.45 มากที่สุด

รวม 4.63 0.51 มากที่สุด

122 ตาราง 5 (ต่อ)

องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ส าหรับสถานศึกษา

X

S.D. ระดับความเหมาะสม

องค์ประกอบที่ 7 การจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน 7.1 จัดท ารายงานคุณภาพการศึกษาประจ าปีงานประเมินคุณภาพ

ภายในเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด 4.4 0.55 มาก

7.2 แต่งตั้งคณะท างานที่ประกอบด้วยบุคลากรจากทุกฝ่ายที่

ปฏิบัติงานเพื่อให้ทุกฝ่ายร่วมรับรู้ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน 4.8 0.45 มากที่สุด 7.3 จัดท ารายงานฉบับสมบูรณ์แล้วน าเสนอคณะ กรรมการ

สถานศึกษาเพื่อทราบและให้ความเห็นชอบ 4.6 0.55 มากที่สุด 7.4 ใช้รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจ าปีของสถานศึกษา

เป็นฐานข้อมูลที่จ าเป็นส าหรับการประเมินคุณภาพภายนอก 4.4 0.55 มาก 7.5 ใช้ฐานข้อมูลของการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่

ละปีทั้งในจุดเด่น จุดควรพัฒนาโอกาส และข้อจ ากัด ตลอดจนผลที่

เกิดขึ้นข้อมูลจากผลการด าเนินงานในปีปัจจุบันไปใช้ประโยชน์ในการ น าไปใช้ปรับปรุงและพัฒนางานในปีถัดไป

4.4 0.55 มาก 7.6 ใช้ข้อมูลจากการด าเนินงานของสถานศึกษาในเชิงประจักษ์ที่มี

หลักฐานชัดเจน ช่วยกระตุ้นครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องให้เกิดการตื่นตัว และมีการปรับพฤติกรรมการท างานเพื่อเป้าหมายที่ก าหนดไว้ร่วมกัน

4.6 0.55 มากที่สุด 7.7 ผลการประเมินสามารถสะท้อนภาพของจุดเด่นจุดที่ต้องปรับปรุง

เพื่อน ามาเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนได้

เป็นอย่างดี

4.6 0.55 มากที่สุด 7.8 ด าเนินการรายงานคุณภาพการศึกษาประจ าปีให้พ่อ แม่

ผู้ปกครองและสาธารณชนทราบ 4.8 0.45 มากที่สุด

รวม 4.58 0.52 มากที่สุด

Garis besar

Dokumen terkait