• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวทางการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

1. การก าหนดมาตรฐาน การศึกษาของ

สถานศึกษา

การวางแผน (Plan)

1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท ามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อย่างมีส่วน ร่วม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง และผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

1.2 ประชุมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และสร้างจิตสานึกเห็นความ ส าคัญการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา มี

การจัดท ามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และประโยชน์ที่ได้รับจาก มาตรฐานของสถานศึกษา ซึ่งควรยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

การปฏิบัติ (Do)

1.3 ก าหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดการศึกษา ซึ่งท าการวิเคราะห์

ความสัมพันธ์ที่ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาน ศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาของเขต พื้นที่การศึกษา หลักสูตรของสถานศึกษา

และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา

165 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

1.4 ก าหนดค่าเป้าหมายความส าเร็จของแต่ละมาตรฐานและตัวชี้วัด ซึ่งท าการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดด้านผู้เรียน ด้านคุณภาพการ จัดการศึกษา ด้านการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ อัตลักษณ์ของสถาน ศึกษา และการส่งเสริมของสถานศึกษา

การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

1.5 น าเสนอร่างมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาพร้อมค่า

เป้าหมายว่ามีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่

การศึกษา หลักสูตรของสถานศึกษา และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา พร้อมทั้ง ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาความเหมาะสม และลงนามให้ความเห็นชอบ

การพัฒนาปรับปรุง (Action)

1.6 เผยแพร่และรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา และแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องภายในและภายนอกรับทราบ เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน จัดท าป้ายประชาสัมพันธ์ ประกาศเสียงตามสาย เป็นต้น

1.7 ส ารวจความคิดเห็นโดยใช้แบบสอบถามหรือวิธีการอื่นๆ ตาม ความ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา

166 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

2. การจัดท าแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา

การวางแผน (Plan)

2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา และประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

2.2 วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ จ าเป็น

2.3 ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์

2.4 จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนา คุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดท าจัดท า แผนปฏิบัติการประจ าปี

การปฏิบัติ (Do)

2.5 ด าเนินกิจกรรม/โครงการตามแผนให้มีความสอดคล้องกับ มาตรฐานและตัวชี้วัดการศึกษาของสถานศึกษา

2.6 ใช้งบประมาณ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสภาพ ปัญหาที่ ต้องการพัฒนา และสอดคล้องกับโครงการ/กิจกรรม

การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

2.7 ติดตาม และตรวจสอบ แล้วเสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ การพัฒนาปรับปรุง (Action)

2.8 ใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและความจ าเป็นอย่างเป็น ระบบ เพื่อรองรับทั้งแผนระยะสั้น ระยะกลาง และแผนระยะยาว

167 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

3. การจัดระบบบริหาร และสารสนเทศ

การวางแผน (Plan)

3.1 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความ ต้องการ ข้อมูลระบบสารสนเทศในสถานศึกษา

3.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยมีกรอบการมอบหมายงานตามภารกิจอย่างชัดเจน การปฏิบัติ (Do)

3.3 จัดโครงสร้างและแผนผังการบริหารงานให้ครอบคลุมภารกิจของ สถานศึกษา

3.4 จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม ครบถ้วนตาม ภารกิจของสถานศึกษา

3.5 จัดระบบบริหารและสารสนเทศให้เอื้อต่อการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในระดับสถานศึกษาให้เป็นปัจจุบันสะดวกต่อการ เข้าถึงและการให้บริการ

การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

3.6 ตรวจสอบ ประมวลผลความถูกต้องของข้อมูล โดยพิจารณาจาก ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ และความเป็นปัจจุบันของระบบสารสนเทศ ในสถานศึกษา เพื่อน ามาจัดท า เอกสารประจ าปี

การพัฒนาปรับปรุง (Action)

3.7 น าข้อมูลสารสนเทศที่ผ่านการประมวลผลแล้ว มาจัดท าเป็น สารสนเทศที่

มีความชัดเจน และสะดวกในการน าไปใช้ในการวางแผนพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

168 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

4. การด าเนินงานตาม แผนพัฒนาการจัด การศึกษาของ สถานศึกษา

การวางแผน (Plan)

4.1 จัดระบบบริหารจัดการทรัพยากรและการปฏิบัติงานของ แผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยเน้นการตัดสินใจ ร่วมกันก่อนการด าเนินงาน

4.2 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม ด าเนินงานตามแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่างชัดเจน

การปฏิบัติ (Do)

4.3 ด าเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามกรอบระยะเวลาที่ก าหนดไว้แบบ มีส่วนร่วมของครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

4.4 จัดสรรวัสดุ ส าหรับอ านวยความสะดวกในการท างาน และ สนับสนุน ทรัพยากรต่างๆ ในการด าเนินการตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษา อย่างเพียงพอกับความต้องการของบุคลากรอย่างเหมาะสม 4.5 สร้างขวัญและกาลังใจให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

4.6 จัดระบบการนิเทศ ก ากับ ติดตาม และประเมินผลตามแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่างชัดเจน

4.7 สรุปรายงานผลการด าเนินงานเสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา และผู้

มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ การพัฒนาปรับปรุง (Action)

4.8 ใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

169 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

5. การติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา

การวางแผน (Plan)

5.1 ชี้แจ้งแนวการด าเนินงาน วัตถุประสงค์ ขอบข่ายและความส าคัญ คณะกรรมการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

5.2 แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และ ก าหนดบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน

5.3 สร้างแบบเครื่องมือในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ระดับ สถานศึกษาให้ครอบคลุมเนื้อหา และอธิบายเครื่องมือดังกล่าว เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง การปฏิบัติ (Do)

5.4 จัดท าแผน/ปฏิทินการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5.5 ด าเนินการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาโดยบุคลากรภายใน สถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

5.6 ด าเนินการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบโดยใช้วิธีการและแหล่งข้อมูล หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เช่น แบบบันทึก แบบประเมิน การศึกษา เอกสาร การสังเกตการเรียนการสอน เป็นต้น

การพัฒนาปรับปรุง (Action)

5.7 จัดท ารายงานสรุปผลเสนอต่อผู้เกี่ยวข้อง และน าผลการติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาไปใช้วางแผนด าเนินงานปรับปรุงพัฒนาการ บริหารจัดการ

170 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

6. การประเมินคุณภาพ ภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา

การวางแผน (Plan)

6.1 ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อชี้แจง อบรมพัฒนาความรู้ มีทักษะ เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานด้านกระบวนการ บริหาร ด้านการบวนการเรียนการสอน และด้านคุณภาพผู้เรียน โดย สนับสนุนให้ทุกฝ่ายท างานร่วมกัน

6.2 แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษาก าหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน การปฏิบัติ (Do)

6.3 สร้างเครื่องมือและวิธีการประเมินคุณภาพภายในที่หลากหลาย ครอบคลุมทุกมาตรฐานและตัวชี้วัดของสถานศึกษา

6.4 น าขั้นตอนการด าเนินงานอย่างมีคุณภาพครบวงจร (PDCA) มาใช้

ในการ ประเมินคุณภาพภายใน ครอบคลุมทุกมาตรฐานและตัวชี้วัดของ สถานศึกษา

การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

6.5 ท าการประเมินการด าเนินงานแบบข้ามฝ่าย/กลุ่มงาน หรือแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลอย่างน้อย 3 คน

การพัฒนาปรับปรุง (Action)

6.6 สร้างเจตคติที่ดีให้กับทุกคนต่อการประเมินคุณภาพภายใน และท า การประเมินคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา อยู่บนพื้นฐานความ ถูกต้องและเที่ยงธรรม

6.7 น าผลการประเมินคุณภาพภายในมาสรุปรวม และจัดท าเป็น สารสนเทศ เพื่อน าไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป

171 ตาราง 25 (ต่อ)

การด าเนินการ วิธีการด าเนินการ

7. การจัดท ารายงาน ประจ าปีที่เป็นรายงาน ประเมินคุณภาพภายใน

การวางแผน (Plan)

7.1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท ารายงานประจ าปีของสถานศึกษา (SAR) โดยแต่งตั้งบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา

การปฏิบัติ (Do)

7.2 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ วิเคราะห์ แปลผลการด าเนินงานตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการ ประจ าปีครอบคลุมทุกรายการ ทุกมาตรฐานและตัวชี้วัด

7.3 เขียนรายงานประจ าปีของสถานศึกษา (SAR) ที่สะท้อนสภาพการ ด าเนินงานที่เป็นจุดเด่น จุดด้อย และแนวทางการพัฒนา สรุปผลการ ด าเนินงาน และแนวทาง การพัฒนาในปีถัดไป

การตรวจสอบและประเมินผล (Check)

7.4 ตรวจสอบรูปแบบของรายงาน แล้วนาเสนอคณะกรรมการ สถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ

การพัฒนาปรับปรุง (Action)

7.5 เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ หน่วยงานต้นสังกัด

7.6 สอบถามความคิดเห็น โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย และ ข้อเสนอแนะของ ผู้มีส่วนได้เสียหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อน าไป จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

Garis besar

Dokumen terkait