• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

ได้องค์ประกอบ และตัวชี้วัด การด าเนินงาน ประกันคุณภาพ การศึกษา

1. น าองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการด าเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษาที่ได้จาก ระยะที่ 1 มาสร้างเป็นแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษาส าหรับสถานศึกษา

2. เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารและครู

ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 2 จ านวน 310 คน

3. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์การด าเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาส าหรับสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

4. น าผลการวิจัยที่ได้จากข้อ 3 มาวิเคราะห์หาค่าดัชนี

ความต้องการจ าเป็นและจัดล าดับความต้องการ 2. การศึกษาสภาพปัจจุบัน

สภาพที่พึงประสงค์ การ ด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

3.การพัฒนาแนวทางการ ด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ส าหรับ สถานศึกษา

ได้แนวทางการพัฒนา การด าเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา 1. การศึกษาองค์ประกอบ

และตัวชี้วัดการด าเนินงาน การประกันคุณภาพการ ศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

ทราบสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์

การด าเนินงาน ประกันคุณภาพ การศึกษา ส าหรับ สถานศึกษา

1. ศึกษา Best Practices จากสถานศึกษาที่มีวิธีการ ปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการด าเนินงานการประกัน คุณภาพการศึกษาส าหรับสถานศึกษา

2. ร่างแนวทางการพัฒนาการด าเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษาส าหรับสถานศึกษา

3. ประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5คน

ระยะการวิจัย ขั้นตอนด าเนินการ ผลที่คาดหวัง

1. ศึกษาเอกสาร ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2. สังเคราะห์องค์ประกอบ และตัวชี้วัด การด าเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษาที่ได้จาก การศึกษาเอกสาร

3. ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 คน

93 ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

1. ขั้นตอนการด าเนินการ

1.1 การศึกษาเอกสาร ต าราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานประกัน คุณภาพ

1.2 การสังเคราะห์ข้อมูลจากข้อ 1.1 เพื่อให้ได้องค์ประกอบและตัวชี้วัดการ ด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

1.3 ตรวจสอบความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัดด้านการด าเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ

2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล มีบทบาทในการให้ข้อชี้แนะ ค าแนะน า และประเมินความเหมาะสม ขององค์ประกอบและตัวชี้วัดด้านการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัด ส านักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 คน ซึ่งได้มาโดย การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ประกอบด้วยผู้บริหารการศึกษา จ านวน 1 คน ผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 1 คน ศึกษานิเทศก์ จ านวน 2 คน ครูผู้สอน จ านวน 1 คน ซึ่งมี

คุณสมบัติตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้

2.1 ผู้บริหารการศึกษา ได้แก่ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ขึ้นไป

2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผู้อ านวยการสถานศึกษาจากสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ขึ้นไป

2.3 ศึกษานิเทศก์ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ขึ้นไป

2.4 ครูผู้สอน ได้แก่ ครูผู้ท าหน้าที่สอนในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มี วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ขึ้นไป ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 5 คน ประกอบด้วย

1. นายพรชัย โพคันโย ต าแหน่ง ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามค าแหง

2. นายวิมล ร่มวาปี ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองหญ้าไซ ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (ศษ.ม.) สาขาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชธานี

94 3. นายศิริพงษ์ ปุณประเสริฐ ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (ศษ.ม.) สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยรามค าแหง

4. นายสุนีย์ อุทุมทอง ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (กศ.ม.) สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย มหาสารคาม

5. นายนารินทร์ บรรเทา วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ครูโรงเรียนบ้านหนอง หญ้าไซ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (ค.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 ประเภทและลักษณะของเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้เป็นแบบประเมินความเหมาะสม ของ องค์ประกอบและตัวชี้วัด การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา เป็นแบบ มาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด.

2554 : 102) ได้แก่ เหมาะสมมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ซึ่งแต่ละระดับมีค่า คะแนน และความหมาย ดังนี้

ระดับ 5 หมายถึง มีความเหมาะสม ระดับ มากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง มีความเหมาะสม ระดับ มาก ระดับ 3 หมายถึง มีความเหมาะสม ระดับ ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง มีความเหมาะสม ระดับ น้อย ระดับ 1 หมายถึง มีความเหมาะสม ระดับ น้อยที่สุด 3.2 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

3.2.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา เพื่อก าหนดขอบเขตและแนวทางในการออกแบบเครื่องมือในการเก็บ ข้อมูล

3.2.2 ผู้วิจัยน าข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร ต าราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสร้าง แบบประเมินความเหมาะสม องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ให้ครอบคลุมขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา

3.2.3 น าแบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัดการ

ด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อ ตรวจสอบและให้ค าแนะน า

95 3.2.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด ตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษา และน าเสนอผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบพิจารณาความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหาและประเมินความเหมาะสม

4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิด้วยตนเอง โดยประสานความ ร่วมมือไปยังโรงเรียนที่ผู้ทรงคุณวุฒิสังกัด ได้เครื่องมือกลับคืนมา 5 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100

5. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 การจัดกระท าข้อมูล

5.1.1 ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบประเมินแต่ละฉบับ 5.1.2 ตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ต่อไปนี้

ระดับ 5 หมายถึง องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสม ระดับ มากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสม ระดับ มาก

ระดับ 3 หมายถึง องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสม ระดับ ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสม ระดับ น้อย ระดับ 1 หมายถึง องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสม ระดับ น้อยที่สุด 5.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูล ความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวชี้วัด ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ส าเร็จรูปเพื่อหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และแปรผลค่าเฉลี่ยโดยใช้เกณฑ์ต่อไปนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2554)

ค่าเฉลี่ย ความหมาย

4.51 – 5.00 องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมมากที่สุด 3.51 – 4.50 องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมมาก 2.51 – 3.50 องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 องค์ประกอบและตัวชี้วัด มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

1. ขั้นตอนด าเนินงาน

1.1 น าผลการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ต ารา และงานวิจัยเกี่ยวกับจากการ ด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ได้องค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงาน

96 ประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา จากนั้นน ามาใช้ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษา สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

1.2 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.3 วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ด้านการด าเนินงานประกัน คุณภาพ การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

1.4 น าข้อมูลผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่ประสงค์มาวิเคราะห์หาค่าดัชนี

ความ ต้องการจ าเป็น (Priority Needs Index) เพื่อจัดล าดับความต้องการจ าเป็น โดยการค านวณ PNImodified (สุวิมล ว่องวานิช, 2550)

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.1. ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบในการด าเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา โรงเรียนละ 2 คน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2558 จ านวน 200 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 400 คน(กลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2. 2558)

2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู

ผู้รับผิดชอบในการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา โรงเรียนละ 2 คน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2558 จ านวน 155 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 300 คน

การก าหนดกลุ่มตัวอย่างดังกล่าว ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) และก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยใช้ตารางส าเร็จรูปตารางส าเร็จรูปของเครจซี่และ มอร์แกน (Krejcie, Robert V. and Morgan, 1970) โดยมีขั้นตอนการสุ่มดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ใช้ขนาดสถานศึกษาเป็นตัวแบ่งชั้นในการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

ขั้นตอนที่ 2 ก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามขนาดสถานศึกษา โดยการเทียบเกณฑ์

ร้อยละกับขนาด กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดได้จากการใช้ตารางส าเร็จรูปของ Krejcie และ Mogan ขั้นตอนที่ 3 สุ่มรายชื่อสถานศึกษาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลาก ตามจ านวนขนาดกลุ่มตัวอย่าง

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อได้รายชื่อสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างครบจ านวน ผู้วิจัยใช้วิธีการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือก ผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 1 คน และครู

ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา จ านวน 1 คน รวมโรงเรียนละ 2 คน จนครบตามจ านวน ดังแสดงในตาราง 3

Garis besar

Dokumen terkait