• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงการสุ่มกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับ

การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 2 สถานภาพ

ขนาดโรงเรียน

ประชากร (คน) กลุ่มตัวอย่าง (คน) ผู้บริหาร ครู รวม ผู้บริหาร ครู รวม

โรงเรียนขนาดเล็ก 103 792 896 81 81 162

โรงเรียนขนาดกลาง 91 869 960 72 72 144

โรงเรียนขนาดใหญ่ 6 211 217 2 2 4

รวม 200 1873 2073 155 155 310

ในการเก็บข้อมูลการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา เพื่อใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล จ านวน 272 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 88 ของกลุ่มตัวอย่าง

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 ลักษณะของเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในระยะนี้เป็นแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ ด้านการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ประกอบด้วย 2 ตอน

ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามสภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย อายุ วุฒิทางการศึกษา สถานภาพของต าแหน่ง ประสบการณ์ในการท างานและขนาดสถานศึกษา

ตอนที่ 2 ข้อค าถามสภาพการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับ สถานศึกษาเป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) เพื่อสอบถามสภาพ ปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ โดยมีค าถามครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ

เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) ดังนี้

1) การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2) การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

3) การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

4) การด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

98 5) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

6) การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) การจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน 8) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถามพิจารณาความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึง ประสงค์ การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยก าหนดเกณฑ์ระดับคะแนน ดังนี้

5 หมายถึง มีการปฏิบัติการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ในสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ ในระดับมากที่สุด

4 หมายถึง มีการปฏิบัติการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ในสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ ในระดับมาก

3 หมายถึงมีการปฏิบัติการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ในสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ ในระดับปานกลาง

2 หมายถึงมีการปฏิบัติการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ในสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ ในระดับน้อย

1 หมายถึงมีการปฏิบัติการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ในสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ ในระดับน้อยที่สุด

3.2 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ในการด าเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี

เขต 2 มีวิธีการสร้างและหาคุณภาพ ดังนี้

1) ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ในการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัด

ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 จากเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อน ามาประกอบเป็นแนวความคิดแล้วสร้างแบบสอบถามภายใต้กรอบแนวคิด

2) ศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการสร้างแบบสอบถาม ก าหนดรูปแบบและขอบเขต ของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3) ก าหนดกรอบแนวคิดของการวิจัย รวมถึงศึกษาองค์ประกอบประเด็นเนื้อหา และโครงสร้างของแบบสอบถามและปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึง ประสงค์ในการด าเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกรอบหลักเกณฑ์และแนว

99 ปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553)

4) วิเคราะห์นิยามศัพท์แล้วก าหนดโครงสร้างการด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายและตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย

5) ก าหนดรูปแบบข้อค าถามโดยใช้ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มี

ลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ส่วนสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์

การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ

6) สร้างแบบสอบถามฉบับร่างตรวจสอบความถูกต้อง ครอบคลุมลักษณะที่

ต้องการวัด เสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจสอบและให้ค าแนะน า แก้ไข ก่อนเสนอให้

ผู้เชี่ยวชาญให้ข้อเสนอแนะอีกครั้ง

7) ผู้เชี่ยวชาญประเมิน ตรวจสอบ เครื่องมือ IOC จ านวน 5 คน โดยมีเกณฑ์

คุณสมบัติ ดังนี้

(1) ด ารงต าแหน่งอาจารย์ประจ าคณะศึกษาศาสตร์ ระดับอุดมศึกษา มีวุฒิ

การศึกษาไม่ต่ ากว่าปริญญาโททางการศึกษา จ านวน 1 คน

(2) ผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผู้อ านวยการสถานศึกษาจากสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ขึ้นไป จ านวน 1 คน

(3) ศึกษานิเทศก์ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ขึ้นไป จ านวน 2 คน (4) ครูผู้สอน ได้แก่ ครูผู้ท าหน้าที่สอนในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มี วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ วุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาโทขึ้นไป จ านวน 1 คน

รายนามผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 5 คน ประกอบด้วย

(1) รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ อาจารย์ประจ าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาและ สื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Ph.D. Educational Media U. of Missouri Columbia U.S.A.

(2) นายชาติณรงค์ ไชยทองศรี ผู้อ านวยการโรงเรียนผาสุกประชานุกูล ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (กศ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

100 (3) นายปริญญา ไมยะปัน ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (ศษ.ม.) สาขา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยรามค าแหง

(4) นายสุริยนต์ อินทร์อุดม ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท (ศษ.ม.) สาขา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยรามค าแหง

(5) นายมหักพันธ์ ศรีหริ่ง วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ครูโรงเรียนบ้าน หนองกุงทับม้า ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 วุฒิการศึกษาระดับปริญญา โท (กศ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

8) น าเครื่องมือที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่

เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบส านวนภาษาที่ใช้ ความสมบูรณ์ ความถูกต้องด้านภาษาที่ใช้ และข้อเสนอ แนะในการปรับปรุงตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อค าถามกับเนื้อหา(Item of Objectives Congruence: IOC) ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554 : 70)

ให้คะแนน +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นสามารถวัดได้

ให้คะแนน 0 ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นสามารถวัดได้

ให้คะแนน –1 ถ้าแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นไม่สามารถวัดได้

ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC ตั้งแต่ 0.80 – 1.00) พบว่า แบบสอบถาม แต่ละข้อมีค่าความสอดคล้องระหว่างองค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพ

การศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

9) น าแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ ไปทดลองใช้เพื่อหา คุณภาพของแบบสอบถาม โดยน าไปทดลองใช้ (Try Out) กับผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ใน โรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างและมี

ความคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจ านวน 30 คน ประกอบด้วย ครูผู้สอนจากโรงเรียนขนาดเล็ก จ านวน 8 คน โรงเรียนขนาดกลาง จ านวน 11 คน และโรงเรียนขนาดใหญ่ จ านวน 11 คน เพื่อหาความเที่ยง ของเครื่องมือและหาคุณภาพของแบบสอบถาม

10) วิเคราะห์หาค่าอ านาจจ าแนกโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของ เพียร์สัน ตามวิธี Item Total Correlation มีค่าอ านาจจ าแนกรายข้อ 0.31 – 0.97 โดยเลือกข้อที่มี

ค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป (บุญชม ศรีสะอาด, 2554)

11) วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์

แอลฟา (Aipha Coefficient มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98) ของครอนบาค (Cronbach) โดยเกณฑ์ความเชื่อมั่นที่ยอมรับได้จะมีค่าตั้งแต่ .70 ขึ้นไป (บุญชม ศรีสะอาด, 2554)

101 12) น าแบบสอบถามมาจัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างต่อไป

4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

4.1 ผู้วิจัยด าเนินการขอหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามถึง ผู้อ านวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 เพื่อขออนุญาตและอ านวยความสะดวก ในการจัดเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

4.2 ท าหนังสือจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ขอ ความร่วมมือไปยังสถานศึกษาในสังกัด ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล

4.3 น าแบบสอบถามพร้อมหนังสือขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม จัดส่ง แบบสอบถามไปยังสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่างและติดต่อรับคืนด้วยตนเอง

5. การจัดการกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการจัดการกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ดังนี้

5.1 การจัดกระท าข้อมูล

1) ตรวจสอบความครบถ้วน สมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา 2) ตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนที่ก าหนดไว้

5.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

น าแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์ของการตอบ จากนั้นน ามา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป ดังนี้

1) วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และหาค่าร้อยละ (Percentage) แล้วน าเสนอเป็น ตารางประกอบความเรียงท้ายตาราง

2) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามตอนที่ 2 เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและ สภาพที่พึงประสงค์ในการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation, S.D.) โดยก าหนดเกณฑ์การแปลความหมายค่าเฉลี่ย ดังนี้

ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การ ด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด

ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การ ด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับมาก

Garis besar

Dokumen terkait