• Tidak ada hasil yang ditemukan

The Developing guidelines for quality assurance studies. For schools Office of Educational Service Area Elementary Udonthani 2.

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "The Developing guidelines for quality assurance studies. For schools Office of Educational Service Area Elementary Udonthani 2. "

Copied!
265
0
0

Teks penuh

The objectives of the research were aimed at 1) studying the elements and indicators of quality assurance in the education of the schools, 2) studying the current state and the desirable state of quality assurance in the education of the schools and 3 ) developing the guidelines for quality assurance in education security of the schools in Udonthani Primary Educational Service Area Office 2. The research instruments were interview forms of the elements and indicators of quality assurance in education of the schools, the questionnaires on the current state and desirable state of the quality assurance in education of the schools and the evaluation forms on the suitability and feasibility of the quality assurance in education of the schools in Udonthani Primary Educational Service Area Office 2. The current state of quality assurance in education of the schools in Udonthani Primary Educational Service Area Office 2, all aspects and aspects were overall at an average level (Mean = 2.82).

The desirable state of the quality assurance in education of the schools in Udonthani Primary Educational Service Area Office 2, all aspects and every aspect was completely at a high level (Avg.

สรุปองค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

นครราชสีมาใช้หลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (PAOR) ตามแนวคิดของ Kemmis และ McTaggart โดยใช้กลยุทธ์กระบวนการ AIC และการปรับรื้อระบบผลการวิจัยพบว่า ในด้านการเตรียมความ พร้อมการศึกษาสภาพและผลการด าเนินงานของสถานศึกษา การก าหนดวัตถุประสงค์/มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ ในการประเมินระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การจัดท าแนวทางการพัฒนา งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประเมินแนวทางการพัฒนางานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาส่งผลให้การด าเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โรงเรียนได้แนวทางในการ ด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในจากการใช้กลยุทธ์กระบวนการ AIC โดยจัดกิจกรรมการ สร้างความรู้การสร้างยุทธศาสตร์พัฒนาและการสร้างแนวปฏิบัติและกลยุทธ์การปรับรื้อระบบโดยจัด กิจกรรมการแยกส่วนงานออกให้ชัดเจน การตั้งทีมวิเคราะห์กระบวนการท างาน การประชุมทีมงาน การออกแบบกระบวนการท างาน และการน าเสนอผู้สร้างทีมงานท าให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้. นวพรรดิ์ นามพุทธา (2555) ได้ท าการวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 โดยมีความมุ่ง หมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ 3) เพื่อประเมิน รูปแบบโดยการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) องค์ประกอบของรูปแบบ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จากการศึกษาเอกสารและการศึกษาดูงาน โรงเรียนที่มีนวัตกรรมการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในที่ประสบความส าเร็จ องค์ประกอบ 8 ด้าน คือ 1.1) การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.2) การจัดท าแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.3) การจัดระบบ . 84 บริหารและสารสนเทศ 1.4) การด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1.5) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 1.6) การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา 1.7) การจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และ 1.8) การ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องจ านวน 118 ตัวบ่งชี้ 2) รูปแบบการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 2.1) การเตรียมการ 2.2) การด าเนินการ เป็นการน าวงจร PDCA ไปด าเนินการพัฒนา คุณภาพภายในสถานศึกษาตามขั้นตอนที่ก าหนด 2.3) การสรุปผลการด าเนินงาน และ 2.4) การ รายงานผลการปฏิบัติงาน มาบริหารระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3) เพื่อประเมิน รูปแบบโดยทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 พบว่า ก่อนด าเนินการมีคุณภาพอยู่ในระดับดี และหลัง ด าเนินการมีคุณภาพระดับดีมาก ส่วนผลการประเมินตัวบ่งชี้ความส าเร็จ จ านวน 8 ด้าน จ านวน 118 ตัวบ่งชี้โดยรวม พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก. Stevene (2004) ได้ศึกษาการวิจัยการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียนระดับกลางเขตชาน เมืองหรือชนบท : โดยการเชื่อมโยงระบบการเรียนรู้ในห้องเรียนเข้ากับ The Baldrige Criteria for Educational Excellence และการประกันคุณภาพ พบว่า การน า Baldrige Criteria for.

แสดงการสุ่มกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับ

สรุปองค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ

จ านวนร้อยละผู้ตอบแบบสอบถาม

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

ค้นหาค่าดัชนีความต้องการ เพื่อกำหนดลำดับความสำคัญ (Modified Priority Need Index : PNI .modified) ในการพัฒนาแนวปฏิบัติ ผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาปรากฏดังตารางที่ 16 ถึงตารางที่ 24

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง

แนวทางการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยวกับความเหมาะสมและความเป็นไปได้

กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย

ข้อ 15 การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรา 14(1) จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของประเทศ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาในระดับการศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนดและต้องครอบคลุมเนื้อหาการเรียนรู้

องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

กระบวนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตามวงจร PDCA

แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา

วงจรประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

วงจรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบประกันคุณภาพการศึกษา

แสดงระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

Referensi

Garis besar

กระบวนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตามวงจร PDCA วงจรประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา วงจรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบประกันคุณภาพการศึกษา แสดงการสุ่มกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับ สรุปองค์ประกอบและตัวชี้วัดการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง แสดงค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาแนวทาง แนวทางการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับสถานศึกษา

Dokumen terkait

ประมาณในครั้งต่อไปให้มากขึ้น แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงาน โรงเรียน สังกัดส�านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 งาน