• Tidak ada hasil yang ditemukan

การประมาณการต้นทุนผู้ปุวยรายบุคคล

1. ความหมายของการจัดการต้นทุน

3.2 การประมาณการต้นทุนผู้ปุวยรายบุคคล

3.2.1. การค านวณต้นทุนรายโรค เมื่อได้ข้อมูลต้นทุนของผู้ปุวยรายบุคคลแล้ว สามารถน ามาวิเคราะห์ต้นทนรายโรคได้ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลทางคลินิกของผู้ปุวย รายบุคคล เพื่อหาต้นทุนรายโรค เช่น ต้นทุนผู้ปุวยนอกโรคหลอดเลือดสมอง หาต้นทุนได้โดยเลือก ผู้ปุวยที่มีรหัสการวินิจฉัยโรคหลักมาค านวณต้นทุนเฉลี่ยต่อการมาตรวจที่โรงพยาบาลแบบผู้ปุวยนอก ส าหรับผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง

3.2.2 การค านวณต้นทุนของกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม เมื่อได้ข้อมูลต้นทุนรายบุคคลแล้ว จึงน าข้อมูลพื้นฐานของผู้ปุวยเหล่านั้นและข้อมูลทางคลินิก มาท าการวิเคราะห์ต้นทุนเฉลี่ยต่อกลุ่ม วินิจฉัยโรคร่วมและต้นทุนต่อค่าน้ าหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าวันนอนแล้ว

3.2.3 การค านวณต้นทุนรายสิทธิหลักประกันสุขภาพ เมื่อได้ข้อมูลต้นทุนรายบุคคล ของผู้ปุวยแล้ว น าข้อมูลผู้ปุวยแต่ละรายมาจัดกลุ่มเป็นต้นทุนในการบริการผู้ปุวยสิทธิข้าราชการ/

รัฐวิสาหกิจ/เบิกต้นสังกัด ต้นทุนบริการผู้ปุวยประกันสังคม ต้นทุนบริการสิทธิหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า (UC) โดยน าต้นทุนของผู้ปุวยแต่ละสิทธิหลักประกันสุขภาพมารวมกันเพื่อค านวณเป็น ต้นทุนรวมของการบริการรายสิทธิหลักประกันสุขภาพ

4. ระบบการจัดการต้นทุนโรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

สภาพแวดล้อมทั่วไปของโรงพยาบาลชุมชน ทั้งทางด้านการให้บริการแตกต่างกันแต่ละ พื้นที่ ด้านประชากร และค่านิยมในสังคม ด้านแนวโน้มนโยบายการเมือง และด้านการเปลี่ยนแปลง ด้านเทคโนโลยี ส่งผลท าให้องค์กรต้องมีการปรับตัวในการด าเนินงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อตอบสนอง ต่อการให้บริการด้านการรักษาและน าไปสู่การพัฒนาบริการที่เป็นมาตรฐาน ต่อนโยบายภาครัฐและ กลุ่มสังคมหรือชุมชนในพื้นที่ โดยการก าหนดนโยบายและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในพื้นที่ตลอดจนการ สร้างภาพลักษณ์ให้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในพื้นที่ เพื่อเป็นแนวทางและประโยชน์ในการขยายตัวของ

15 องค์กรในอนาคต (กลุ่มประกันสุขภาพ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2560 : 11) ดังนั้น ใน แปลความหมายต้นทุนจึงต้องพึงระมัดระวังไว้ด้วย ส าหรับสถานการณ์ที่ต้องท าการตัดสินใจ โดยควร เลือกใช้ข้อมูลต้นทุนรวมมากกว่าต้นทุนต่อหน่วย การน าต้นทุนต่อหน่วยมาใช้ในการตัดสินใจจะต้อง ใช้ความระมัดระวังอย่างมากในการแปลค่าต้นทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ต้นทุนเหล่านั้นได้รวม ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ไว้ด้วย และเมื่อจะท าการประมาณการต้นทุนรวมจะต้องพึงระวังว่า ต้นทุนผันแปรเป็นต้นทุนต่อหน่วยและต้นทุนคงที่แสดงเป็นจ านวนเงินรวม ดังนั้น ปัจจัยความสัมพันธ์

ระหว่างต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วยแสดงไว้ในตาราง 1 (เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ, 2558 : 25- 26)

ตาราง 1 สรุปปัจจัยความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

สูตรการค านวณต้นทุนต่อหน่วย = ต้นทุนการให้บริการรักษารวม หน่วยการผลิต

5. การประยุกต์ใช้ระบบการจัดการต้นทุนของภาครัฐ

การบริหารงบประมาณที่มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ จ าเป็นต้องใช้ข้อมูลทางการเงินใน การตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัด เมื่อผลิตอย่างคุ้มค่า ข้อมูลจากระบบบัญชีตามเกณฑ์

เงินสดที่มีเพียงรายการรับจ่ายเงินสดเช่นในปัจจุบัน ไม่สามารถแสดงผลการด าเนินงานและให้ข้อมูล ต้นทุนที่แท้จริงของการด าเนินงานอย่างเหมาะสมและเพียงพอได้กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลาง ซึ่งรับผิดชอบในการก าหนดระบบบัญชี จึงเห็นสมควรปรับโครงสร้างระบบบัญชีของหน่วยงานภาครัฐ ดังนั้น รายได้ของรัฐบาลจากการด าเนินงานทุกกิจกรรมของภาครัฐ เป็นปัจจัยส าคัญที่จะปฏิบัติงานให้

บรรลุผลได้ตรมตามเปูาหมายขององค์กรและทันระยะเวลาที่ก าหนด ผลงานได้มีคุณภาพและความ ถูกต้อง มีวิธีการท างานหรือน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเข้ามาช่วยเพิ่มผลงาน และลดระยะเวลา

รูปแบบพฤติกรรมข้อมูล ต้นทุนรวม ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

ต้นทุนผันแปร ต้นทุนรวมเปลี่ยนแปลงใน ทิศทางเดียวกับตัวผลักดัน ต้นทุน

ต้นทุนต่อหน่วยยังคงเท่าเดิม แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไป ของระดับตัวผลักดันต้นทุน ต้นทุนคงที่ ต้นทุนรวมยังคงเท่าเดิมแม้ว่าจะ

มีการเปลี่ยนแปลงไปของระดับ ตัวผลักดันต้นทุน

ต้นทุนต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับตัว ผลักดันต้นทุน

16 ในการปฏิบัติงาน โดยใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ได้อย่างคุ้มค่า สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ฝุายได้

ดังนี้ (กรมบัญชีกลาง, 2560 : เว็บไซต์)

5.1 ปรับปรุงระบบบัญชีจากเกณฑ์เงินสด (Cash Basis) ที่ใช้อยู่เป็นระบบบัญชีตาม เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) ซึ่งหมายถึง หลักเกณฑ์ทาบัญชีที่เดิมจะรับรู้รายการเมื่อมีการรับ จ่ายเงินสด เปลี่ยนเป็นการรับรู้รายการเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับภาระผูกพันที่

หน่วยงานต้องช าระเงินอนาคต หรือทรัพยากรที่จะได้รับเงินในอนาคตด้วย

5.2 การบันทึกบัญชี จะต้องบันทึกรายการที่เป็นองค์ประกอบส าคัญในการจัดท างบ การเงิน ได้แก่ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้และค่าใช้จ่าย ซึ่งหมายถึง การประเมินราคาสินทรัพย์ที่อยู่

ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน การคิดค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ การตรวจนับวัสดุคงเหลือการ ก าหนดรายได้อื่นนอกเหนือจากรายได้เงินงบประมาณที่ได้รับ ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และค่าใช้จ่ายใน การด าเนินงาน ตลอดจนการค านวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตในแต่ละกิจกรรม ครอบคลุมทั้งเงินใน งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ

5.3 การรายงานทางการเงิน ประกอบด้วย รายละเอียดรายได้แผ่นดินและรายรับทั่วไป เป็นแผนการเกี่ยวกับการหารายได้ และการใช้จ่ายเงินตามโครงการต่างๆ ของตามการด าเนินงานของ รัฐบาล ในแต่ละปีรัฐบาลจะต้องท างบประมาณรายจ่ายประจ าปีเพื่อแสดงประมาณการว่า รัฐบาลมี

โครงการจะท าอะไรบ้าง แต่ละโครงการต้องใช้จ่ายเป็นเงินจ านวนเท่าใด และรัฐบาลจะหารายได้จาก ทางใดมาใช้จ่ายตามโครงการนั้น งบประมาณแผ่นดินจะแสดงรายจ่ายของรัฐบาลตามประเภทของ รายจ่าย และตามลักษณะของงานที่รัฐบาลจะจัดท าแหล่งรายได้ที่รัฐบาลจัดหามาเป็นค่าใช้จ่ายตาม โครงการที่จะปฏิบัติจัดท า ส่งผลให้บริบทการท างานในแต่ละหน่วยงานมีการบริหารงานที่แตกต่างกัน ตลอดทั้งรายจ่ายของหน่วยงานราชการแปรผันตามการด าเนินงานของหน่วยงานนั้นๆระบบบัญชี

ปัจจุบัน มีลักษณะต่างหน่วยต่างท ากรมบัญชีกลางจัดท างบการเงินแผ่นดินส่งส านักงานตรวจเงิน แผ่นดิน ส่วนราชการทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ต่างจัดท ารายงานทางการเงินซึ่งมีเพียงรายงานยอด บัญชีแยกประเภททั่วไปและรายงานงบเดือนแยกกันน าส่งส านักงานตรวจเงินแผ่นดิน (กรมบัญชีกลาง, 2560 : 12)

ระบบบัญชีใหม่ กรมบัญชีกลางได้จัดท างบการเงินรวมของแผ่นดิน ส่วนราชการต่าง ๆ จัดท างบการเงินรวมของหน่วยงาน โดยน างบการเงินของส่วนราชการในสังกัดที่อยู่ในทุกภาคส่วนมา รวมด้วยกัน และส่งให้กรมบัญชีกลางน าไปรวมเป็นงบการเงินของแผ่นดิน เพื่อน าส่งให้ส านักงานตรวจ เงินแผ่นดิน ตรวจสอบและเสนอต่อรัฐสภา (กลุ่มประกันสุขภาพ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2556 : 2-4)

ดังนั้น การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ “ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน”และ

“ระบบบัญชีส าหรับหน่วยงานภาครัฐ” ระบบใหม่นี้ จะต้องวางระบบให้ส่วนราชการทุกภาคส่วนได้

17 ปฏิบัติและรายงานในรูปแบบเดียวกัน เช่นเดียวกับการประยุกต์ระบบบัญชีต้นทุนผลิตของส่วน

ราชการที่กรมบัญชีกลางได้ก าหนดให้รูปแบบและวิธีการค านวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตเพื่อให้ส่วน ราชการทุกภาคส่วนได้ถือปฏิบัติและรายงานผลต่อไป โดยกรมบัญชีกลางได้ก าหนดแนวปฏิบัติตาม แนวคิดของการบัญชีต้นทุนกิจกรรมเพื่อน ามาเฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยของส่วนราชการ

การจัดการต้นทุนภายในองค์กรของส่วนราชการ เป็นการควบคุมทรัพยากรที่ถูกใช้ไปอย่าง เหมาะสมและประหยัด อีกทั้งช่วยให้ผู้บริหารตลอดจนบุคลากรในองค์กรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ ตลอดจนมีความเข้าใจมากขึ้นในการบริหารงานขององค์กรในการใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่าและส่งผลให้องค์กรส่วนราชการมีการปฏิบัติงานอย่างมีมาตรฐานและบรรลุเปูาหมายที่ตั้งไว้

โดยปกติผู้บริหารควรน าระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรมมาใช้ ซึ่งการจัดการต้นทุนต้องอาศัยการด าเนินงาน อย่างต่อเนื่อง โดยการวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ท าให้เกิดการพัฒนาและเป็นแนวทาง ในการจัดการต้นทุนอย่างต่อเนื่องในอนาคต (กระทรวงสาธารณสุข, 2562 : 7-8)

กระทรวงสาธารณสุขได้มอบนโยบายในการบริหารยุทธศาสตร์หลักการบริหารตามนโยบาย การบริหารองค์กร โดยใช้ยุทธศาสตร์หลักการบริหาร “Rethink – Reprocess” เพื่อปรับแนวคิดการ จัดการต้นทุนของโรงพยาบาลและปรับกระบวนการท างาน 4 แนวทาง (กลุ่มประกันสุขภาพ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2560 : เว็บไซต์) คือ

1. การด าเนินงานระยะต่อเนื่อง เป็นการน าข้อมูลต้นทุนหน่วยบริการมาใช้ประกอบการ ก าหนดแนวทางการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมให้สอดคล้องระหว่างต้นทุนกับ บริการ นอกจากนี้ การจัดการต้นทุนหน่วยบริการถือเป็นส่วนส าคัญต่อการวางแผนการลดต้นทุนหรือ เพิ่มการผลิตให้สูงขึ้นเพื่อให้สามารถลดต้นทุนที่จะเกิดขึ้นหรือแม้แต่การยกเลิกการผลิตหรือบริการที่

ท าให้เกิดต้นทุนของหน่วยงานสูงเกิดความจ าเป็นได้ภายใต้เกณฑ์การด าเนินงานต่อเนื่องนั้น องค์กร จะด ารงอยู่และจะด าเนินงานต่อเนื่องต่อไปในอนาคตได้ต้องอาศัยการด าเนินงานระยะต่อเนื่องใน กระบวนการท างาน โดยมีการท างานโดยสอดคล้องกัน ส่งผลให้การท างานมีการประเมินผลการ ท างานในทุกระยะ และปรับปรุงพัฒนาให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์