• Tidak ada hasil yang ditemukan

พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงต่อปีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการ ต้นทุนเป็น รายด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ทดสอบ Univariate Test ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัด กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี แตกต่างกัน มี

ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุนเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านการด าเนินระยะต่อเนื่อง ด้านการ บริหารก าลังคน และด้านการประเมินผล แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 64 ภาค ค) จึงได้ท าการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่

67 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัด

กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปีอยู่ที่ไม่เกิน 100 ล้านบาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการด าเนินระยะต่อเนื่อง มากกว่า รายจ่าย รวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี มากกว่า 300 ล้านบาทขึ้นไป และรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี 201 ล้านบาท – 300 ล้านบาท อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 65 ภาคผนวก ค)

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัด กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปีอยู่ที่ไม่เกิน 100 ล้านบาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการบริหารก าลังคน มากกว่า รายจ่ายรวมที่

เกิดขึ้นจริงต่อปี 101 ล้านบาท – 200 ล้านบาท รายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี มากกว่า 300 ล้าน บาทขึ้นไป และรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี 201 ล้านบาท – 300 ล้านบาท และรายจ่ายรวมที่

เกิดขึ้นจริงต่อปี 101 ล้านบาท – 200 ล้านบาท มากกว่า มากกว่า 300 ล้านบาทขึ้นไป อย่างมี

นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 66 ภาคผนวก ค)

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัด กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการ ต้นทุน ด้านการด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ไม่แตกต่างกันกัน (p>0.013) (ตาราง 67 ภาคผนวก ค

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัด กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปีอยู่ที่ไม่เกิน 100 ล้านบาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการประเมินผล มากกว่า รายจ่ายรวมที่เกิดขึ้น จริงต่อปี 101 ล้านบาท – 200 ล้านบาท และรายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี 201 ล้านบาท – 300 ล้านบาท อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 68 ภาคผนวก ค)

68 ตอนที่ 6 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของ

โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขนาดของโรงพยาบาล ชุมชน จ านวนบุคลากร รายรับรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี รายจ่ายรวมที่เกิดขึ้นจริงต่อปี และจังหวัดที่ตั้ง ของโรงพยาบาลชุมชนแตกต่างกัน

6.1 ขนาดของโรงพยาบาลชุมชน

ตาราง 24 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานโดยรวมของ

โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขนาดของ โรงพยาบาลชุมชนแตกต่างกัน (ANOVA)

ประสิทธิภาพการ ด าเนินงาน

แหล่งของความ แปรปรวน

SS df MS F p-value

โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

1.995 56.005 58.000

2.000 152.000 154.000

0.997 0.368

2.707 0.070

นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 24 พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขนาดของโรงพยาบาลชุมชนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการด าเนินงานโดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

ตาราง 25 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานเป็นรายด้านของ โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขนาดของ โรงพยาบาลชุมชนแตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ ประสิทธิภาพการ ด าเนินงาน

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilks’ Lambda 5 ด้าน 100.000 296.000 1.348 0.204

นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

69 จากตาราง 25 พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขนาดของโรงพยาบาลชุมชนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการด าเนินงานเป็นรายด้านทุกด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านความ ร่วมมือของบุคลากร ด้านการเรียนรู้และพัฒนาข้อมูล ด้านประสิทธิผลของงาน และด้าน ความสามารถในการเปรียบเทียบกันได้ ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)

6.2 จ านวนบุคลากร

ตาราง 26 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานโดยรวมของ โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีจ านวน บุคลากรแตกต่างกัน (ANOVA)

ประสิทธิภาพการ ด าเนินงาน

แหล่งของความ แปรปรวน

SS df MS F p-value

โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

6.651 51.349 58.000

3.000 151.000 154.000

2.217 0.340

6.519* <0.0001

มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05