• Tidak ada hasil yang ditemukan

โรงพยาบาลมุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจและ

จากตาราง 4 จากตาราง 4 พบว่า โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาค

3. โรงพยาบาลมุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจและ

ขวัญก าลังใจให้บุคลากรอยู่เสมอ 3.81 0.91 มาก

โดยรวม 3.88 0.76 มาก

จากตาราง 7 พบว่า ผู้บริหารหรือตัวแทนโรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการบริหารก าลังคน อยู่ใน ระดับมากทุกข้อ โดยเรียงล าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ โรงพยาบาลให้ความส าคัญกับการ แบ่งแยกความรับผิดชอบในงานอย่างชัดเจน ( = 3.91) โรงพยาบาลให้ความส าคัญกับการพัฒนา บุคลากรให้มีการจ้างงานที่ดีขึ้น ( = 3.90) และโรงพยาบาลมุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจและขวัญ ก าลังใจให้บุคลากรอยู่เสมอ ( = 3.81)

51 ตาราง 8 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ

โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การจัดการต้นทุน

ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ S.D. ระดับความ คิดเห็น 1. โรงพยาบาลมุ่งเน้นให้มีการใช้เทคโนโลยี

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์

ข้อมูลบัญชีต้นทุนหน่วยบริการ

3.80 0.86 มาก

2. โรงพยาบาลให้ความส าคัญกับการใช้ข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อน ามาพิจารณา ทางเลือกในการบริหารงานให้มี

ประสิทธิภาพสูงสุด

3.89 0.87 มาก

3. โรงพยาบาลส่งเสริมให้รายงานข้อมูล ต้นทุนหน่วยบริการขององค์กรให้มีความ ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

3.92 0.82 มาก

โดยรวม 3.87 0.73 มาก

จากตาราง 8 พบว่า ผู้บริหารหรือตัวแทนโรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุนด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยเรียงล าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ โรงพยาบาล ส่งเสริมให้รายงานข้อมูลต้นทุนหน่วยบริการขององค์กรให้มีความถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ( = 3.92) โรงพยาบาลให้ความส าคัญกับการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อน ามาพิจารณา ทางเลือกในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ( = 3.89) และโรงพยาบาลมุ่งเน้นให้มีการใช้

เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลบัญชีต้นทุนหน่วยบริการ ( = 3.80)

52 ตาราง 9 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการประเมินผลของโรงพยาบาลชุมชนสังกัด

กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การจัดการต้นทุน

ด้านการประเมินผล S.D. ระดับความ

คิดเห็น 1. โรงพยาบาลให้ความส าคัญในการก าหนด

ตัวชี้วัด วิธีการวัดผลและกลุ่มเปูาหมายที่

ชัดเจน โดยมีรูปแบบการประเมินที่เป็นที่

ยอมรับร่วมกัน

3.90 0.77 มาก

2. โรงพยาบาลมุ่งเน้นวัดผลการปฏิบัติงาน อย่างเป็นรูปธรรมโดยมีรูปแบบการ ประเมินผล และข้อมูลสนับสนุนอย่าง ชัดเจน

3.84 0.79 มาก

3. โรงพยาบาลให้ความส าคัญในการใช้ข้อมูล ต้นทุนหน่วยบริการเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล ในการพัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพให้

เป็นระบบเดียวกัน

3.84 0.83 มาก

โดยรวม 3.86 0.68 มาก

จากตาราง 9 พบว่า ผู้บริหารหรือตัวแทนโรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการต้นทุน ด้านการประเมินผล อยู่ในระดับ มากทุกข้อ โดยเรียงล าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ โรงพยาบาล ให้ความส าคัญในการก าหนด ตัวชี้วัด วิธีการวัดผลและกลุ่มเปูาหมายที่ชัดเจน โดยมีรูปแบบการประเมินที่เป็นที่ยอมรับร่วมกัน ( = 3.90) โรงพยาบาลให้ความส าคัญในการใช้ข้อมูลต้นทุนหน่วยบริการเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลใน การพัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพให้เป็นระบบเดียวกัน ( = 3.84) และโรงพยาบาลมุ่งเน้น วัดผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรมโดยมีรูปแบบการประเมินผล และข้อมูลสนับสนุนอย่างชัดเจน ( = 3.84)

53 ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของโรงพยาบาลชุมชนสังกัด กระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ตาราง 10 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานโดยรวม และเป็นรายด้านของ โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประสิทธิภาพการด าเนินงาน S.D. ระดับความ

คิดเห็น

1. ด้านคุณภาพการให้บริการ 3.92 0.68 มาก

2. ด้านความร่วมมือของบุคลากร 3.74 0.74 มาก

3. ด้านการเรียนรู้และพัฒนาข้อมูล 3.74 0.74 มาก

4. ด้านประสิทธิผลของงาน 3.83 0.75 มาก

5. ด้านความสามารถในการเปรียบเทียบกันได้ 3.76 0.69 มาก

โดยรวม 3.80 0.61 มาก

จากตาราง 10 พบว่า ผู้บริหารหรือตัวแทนโรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานโดยรวม อยู่ในระดับ มาก ( = 3.80) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงล าดับเฉลี่ยจากมาก ไปหาน้อย 3 ล าดับแรก ดังนี้ ด้านคุณภาพการให้บริการ ( = 3.92) ด้านประสิทธิผลของงาน ( = 3.83) และด้านความสามารถในการเปรียบเทียบกันได้ ( = 3.76)

54 ตาราง 11 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงาน ด้านคุณภาพการให้บริการของ

โรงพยาบาลชุมชนสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประสิทธิภาพการการด าเนินงาน

ด้านคุณภาพการให้บริการ S.D. ระดับความ

คิดเห็น 1. โรงพยาบาลสามารถปฏิบัติราชการได้

อย่างถูกต้อง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

3.92 0.76 มาก