• Tidak ada hasil yang ditemukan

ลําดับที่ ความตองการทางเทคนิค รายละเอียด

1 มีชองทางการสืบคนขอมูล การเขาถึงระบบฐานขอมูลไดโดยงาย 2 เสถียรภาพของระบบสารสนเทศ การใชงานระบบไดอยางตอเนื่อง ไมติดขัด 3 งบประมาณสนับสนุน จํานวนเงินสนับสนุนการทํากิจกรรมตางๆ ภายใน

มหาวิทยาลัย

4 พื้นที่สําหรับทํากิจกรรม หอง, อาคาร หรือสถานที่ที่เปดโอกาสใหนักศึกษา จัดกิจกรรมตางๆ

5 โรงอาหาร โรงอาหารที่พรอมใหบริการนักศึกษาอยาง สะดวกสบาย ไมแออัด

6 ที่จอดรถ การกําหนดพื้นที่จอดรถเพื่อใหเพียงพอตอความ ตองการของนักศึกษา

7 บริการสุขภาพ มีสถานที่ที่พรอมใหบริการ

8 หองน้ํา มีเพียงพอตอความตองการของนักศึกษา

9 การขึ้นลงอาคารเรียน มีอุปกรณอํานวยความสะดวกในการขึ้นลงอาคาร เรียนอยางเพียงพอ

10 ระบบปรับอากาศ มีระบบปรับอากาศ เพื่อสรางความสะดวกสบาย ใหแกนักศึกษา

11 สื่อโสตทัศน มีอุปกรณที่ทันสมัยในการสื่อการสอน

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

ลําดับที่ ความตองการทางเทคนิค รายละเอียด

12 ความจุของหองเรียน จํานวนที่นั่งภายในชั้นเรียน 13 จํานวนหองเรียน จํานวนหองเรียนในแตละอาคาร

14 การรับบุคลากร การกําหนดเงื่อนไขในการรับสมัครบุคลากร 15 จํานวนอาจารยที่มีตําแหนงวิชาการ จํานวน ผศ. รศ. และ ศ.

16 แหลงบริการวิชาการ สถานที่สําหรับใหบริการวิชาการ 17 รูปแบบการบริการวิชาการ แบบใหเปลา และคิดคาใชจาย 18 จํานวนในการบริการวิชาการ จํานวนครั้งในการบริการ

19 สาขาวิชาที่เปดสอน สาขาวิชาทางดานวิศวกรรมศาสตร

20 หลักสูตร/รายวิชาที่สอน หลักสูตร 3 ปตอเนื่อง หรือ 4 ป โดยมีรายวิชา ทางดานวิศวกรรมศาสตรในสาขานั้นๆ

21 ระดับปริญญาของหลักสูตร ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา 22 มีหนวยงานรับรอง หนวยงานรัฐและสมาคมวิชาชีพรับรองหลักสูตร 23 สถานประกอบการที่เขารวม จํานวนสถานประกอบการ

24 ระดับความสําเร็จของสหกิจศึกษา จํานวนนักศึกษาที่ไดรับงานทํา

25 กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดใหมีขึ้นนอกเหนือจาก การเรียนตามหลักสูตร เพื่อสงเสริมและสราง จุดเดนใหแกนักศึกษา

26 รูปแบบของการใหสิทธิ์โควตา การรับนักศึกษาที่เรียนดี หรือกิจกรรมเดนเขา ศึกษาตอโดยไมตองผานการสอบ หรือใหสิทธิ

พิเศษอื่นๆ

27 สอบสัมภาษณ การสอบสัมภาษณเรื่องทั่วไป และเกี่ยวกับ สาขาวิชาที่เลือก

28 สอบขอเขียน การสอบตามรายวิชาที่สาขาวิชาเปนผูกําหนด

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

ลําดับที่ ความตองการทางเทคนิค รายละเอียด

29 จํานวนวิชาที่สอบ วิชาชีพ ภาษา และคณิตศาสตร

30 จํานวนรับสมัคร จํานวนการรับสมัครนักศึกษา

31 คุณสมบัติผูสมัคร คุณสมบัติผูสมัคร เชน วุฒิการศึกษา ผลการเรียน หรือความประพฤติ เปนตน

32 การแนะแนว/ทัศนศึกษา การจัดโครงการแนะแนว หรือทัศนศึกษา เพื่อให

ความรูความเขาใจ ในการเลือกสาขาวิชา และ สถาบันการศึกษาทั้งในเขตกรุงเทพฯ, ปริมณฑล และในตางจังหวัด

33 ทุนการศึกษา/สิทธิพิเศษ ทุนการศึกษา หรือสิทธิพิเศษ ที่ใหแกนักศึกษา เรียนดี แตยากจน หรือมีความสามารถพิเศษ 34 การแขงขันดานวิชาการ การจัดการแขงขันดานวิชาการทั้งภายใน และ

ภายนอกมหาวิทยาลัย

35 สิ่งประดิษฐ สิ่งประดิษฐ หรือสิ่งสรางสรรคทางดานวิศวกรรม

36 งานวิจัย งานวิจัยประเภทตางๆ

37 เครือขาย การสรางความสัมพันธอันดี และความรวมมือ ดานตางๆ ทั้งผูประกอบการในภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษา และผูปกครอง

38 การจัดลําดับมหาวิทยาลัย การจัดลําดับมหาวิทยาลัยจากสถาบันที่มีชื่อเสียง ระดับชาติ และนานาชาติ ในหัวขอตางๆ

39 จํานวนกองทุน กองทุนเพื่อชวยเหลือคาลงทะเบียน หรือคาใชจาย อื่นๆ ของนักศึกษา

40 คาลงทะเบียน จํานวนเงินลงทะเบียนตามสาขาวิชา หรือคณะที่

สังกัด

ภาพประกอบ 4.1 QFD Phase I เมตริกการวางแผนผลิตภัณฑ

4.1.3 เปาหมายของความตองการเชิงเทคนิคและทิศทางเพื่อการพัฒนา

เมื่อไดขอกําหนดหรือความตองการทางเทคนิคแลว จะทําการกําหนดคาเปาหมาย (Target Value) ของขอกําหนดทางเทคนิคแตละขอซึ่งอยูดานลางของ HOQ และกําหนดทิศทางของการ เคลื่อนที่ของเปาหมาย (Movement of Target) ซึ่งอยูดานบนของ HOQ ดังแสดงในภาพประกอบ 4.1 โดยใหความหมายของสัญลักษณตางๆ ดังนี้

1. สัญลักษณ หมายถึง คาเปาหมายยิ่งเพิ่มยิ่งดี

2. สัญลักษณ หมายถึง คาเปาหมายยิ่งลดยิ่งดี

3. สัญลักษณ หมายถึง คาเปาหมายที่ตั้งไวดีอยูแลว

ซึ่งในการกําหนดความเคลื่อนไหวของเปาหมาย จะเปนการชี้บงไดวาในอนาคตสามารถ ปรับเปลี่ยนทิศทางของคาเปาหมายที่ตั้งไว ณ ปจจุบันนี้ได ไดโดยการเพิ่มหรือลดคาเปาหมาย หรือ ถาหากวาคาเปาหมายที่ตั้งไว ณ เหมาะสมแลว ก็ใชคาเปาหมายนั้นตอไปได ดังแสดงในตารางที่ 4.3

Garis besar

Dokumen terkait