• Tidak ada hasil yang ditemukan

เมตริกการวางแผนกระบวนการ เปนการดําเนินงานของ QFD Phase III ซึ่งเปนการ ดําเนินงานสุดทายที่เปนลักษณะของเมตริก โดยมีกระบวนการดําเนินการในลักษณะเดียวกับ QFD Phase II แตเปลี่ยนเปนการวิเคราะหหากระบวนการที่สามารถตอบสนองตอคุณลักษณะการบริการ การศึกษาที่ไดวิเคราะหจาก QFD Phase II โดยเริ่มจากการเรียงลําดับความสําคัญที่พิจารณาจาก % ความสัมพันธที่คุณลักษณะการบริการการศึกษามีอยู ดังแสดงในตารางที่ 4.10

ตารางที่ 4.10 จัดเรียงลําดับระดับน้ําหนักความสําคัญของคุณลักษณะการบริการ

ลําดับที่ คุณลักษณะของการบริการ % ความสัมพันธ

(Relative)

1 การผลิตบัณฑิตที่เปนที่ตองการของสังคมอยางแทจริง 11.85

2 ขีดความสามารถของบุคลากร 10.42

3 มีศูนยวิจัยเฉพาะทางดานวิศวกรรมศาสตร 10.20

4 มีระบบการบริหาร และการประกันคุณภาพการศึกษา 9.20

5 หองปฏิบัติการทันสมัยและเพียงพอตอความตองการ 9.14

6 มีกิจกรรมบริการทางวิชาการแกสังคม 8.81

7 หลักสูตรสอดคลองกับความตองการของสังคม 8.39

8 การรับสมัครที่มีประสิทธิภาพ 8.32

9 มีโครงสรางพื้นฐานดานตางๆ ที่เพียงพอตอความตองการ 6.86

10 มีทุนการศึกษา/กองทุน เพื่อชวยเหลือนักศึกษา 6.20

11 มีระบบการเงิน บัญชี งบประมาณ และการพัสดุที่มี

เสถียรภาพ

5.40

12 มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 5.22

ภาพประกอบ 4.3 QFD Phase III เมตริกการวางแผนกระบวนการ

เมื่อพิจารณาจากคุณลักษณะของการบริการการศึกษา (Part Characteristic) ที่เกี่ยวของ พบวามีคุณลักษณะกระบวนการ (Process Characteristic) ที่เกี่ยวของ ดังแสดงคุณลักษณะและ รายละเอียดตามตารางที่ 4.11 จากนั้นกําหนดทิศทางของการเคลื่อนที่ของเปาหมาย (Movement of Target) ซึ่งอยูดานบนของเมตริกซดังแสดงตารางที่ 4.11 มีวัตถุประสงคและสัญลักษณคลายกับการ กําหนดคาเปาหมายของความตองการดานเทคนิคในหัวขอที่ 4.1.4 คือเพิ่มกําหนดทิศทางในการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงคาเปาหมาย

จากนั้นกําหนดระดับความสัมพันธระหวางคุณลักษณะของการบริการการศึกษากับ คุณลักษณะกระบวนการในลักษณะเดียวกับหัวขอที่ 4.1.5 โดยมีการระบุความสําคัญ 4 ลักษณะ คือ ไมมีความสัมพันธ มีความสัมพันธมาก มีความสัมพันธปานกลาง และมีความสัมพันธนอย โดย แปลงเปนตัวเลข คือ วาง, 1, 3 และ 9 ดังแสดงในภาพประกอบ 4.3 เมื่อระบุคาความสัมพันแลวจึง ทําการคํานวณหาคาน้ําหนักความสําคัญของความตองการทางเทคนิคโดยเปรียบเทียบ (Relative Technique Requirement Importance) จากสูตรคํานวณที่ไดแสดงใหเห็นในตัวอยางที่ 4.1 และ 4.2 โดยผลของ QFD Phase III ดังแสดงในภาพประกอบ 4.3

Garis besar

Dokumen terkait