• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและเนื้อหา

46 การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถประเมินการใช้หลักสูตร เพื่อน าผลการ ประเมินน าไปใช้พัฒนาหลักสูตรของโรงเรียน

ตาราง 3 การสังเคราะห์ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและเนื้อหา

47 ความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ การจูงใจและ การเสริมแรง

Ministry Of National Education, Turkish Republic (2006) ได้ก าหนดกรอบ สมรรถนะของครูในการศึกษาขั้นพื้นฐานในด้านการเข้าใจผู้เรียนดังนี้

1. การเห็นคุณค่าในอาชีตนเอง และการพัฒนาอาชีพ (Personal and Professional Values Professional Development) ประกอบด้วยสมรรถนะ

1.1 เห็นคุณค่า มีความเข้าใจและเอาใจใส่ผู้เรียน

1.2 มีความเชื่อว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และประสบความส าเร็จได้

1.3 ให้ความส าคัญกับค่านิยมของชาติและสากล 1.4 การประเมินตนเอง

1.5 พัฒนาตนเอง

1.6 ปฏิบัติและพัฒนาตนเองสู่ความเป็นมืออาชีพ 1.7 การปรับปรุงและพัฒนาโรงเรียน

1.8 เคารพกฎและตระหนักถึงความรับผิดชอบในงาน

2. เข้าใจผู้เรียน (Knowing the Student) ประกอบด้วยสมรรถนะ 2.1 มีความเข้าใจในการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียน

2.2 พิจารณาความสนใจและความต้องการของผู้เรียน 2.3 เห็นคุณค่าของผู้เรียน

2.4 ชี้แนะผู้เรียน

British Council (2009) ได้ก าหนดกรอบสมรรถนะการสอนของครูด้านการเข้าใจ ผู้เรียนไว้ดังนี้

ทักษะการจัดการชั้นเรียน (Classroom Management Skill) หมายถึง ความสามารถในการวางแผน การควบคุมและอ านวยความสะดวกต่างๆ ให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการ เรียนการสอนสนองความต้องการที่แตกต่างกันทางความสามารถ วัฒนธรรมของผู้เรียน

SEAMEO INNOTECH (2009) ได้เสนอกรอบสมรรถนะของครูแห่งเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้ในศตวรรษที่ 21 มีมติก าหนดกรอบสมรรถนะของครูแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน ศตวรรษที่ 21 ที่เกี่ยวข้องกับด้านการเข้าใจผู้เรียนไว้ดังนี้

1. การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้

1.1 สนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ปลอดภัย สะอาดเป็นระเบียบ 1.2 ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออาทรและเรียนรู้อย่างเป็นมิตร

1.3 จูงใจให้เกิดการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น

48 1.4 ส่งเสริมการรักษามาตรฐานระดับสูงของสมรรถนะการเรียนรู้

1.5 เคารพในความหลากหลายของผู้เรียน

1.6 คงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือ

2. การพัฒนาทักษะการจัดล าดับการคิดระดับสูง (Higher Order Thinking Skills : HOTS)

2.1 เตรียมสร้างทักษะและยุทธศาสตร์ HOTS 2.2 พัฒนาทักษะ HOTS แก่ผู้เรียน

2.2.1 พัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

2.2.2 พัฒนาทักษะการคิดแบบพินิจพิเคราะห์

2.2.3 พัฒนาทักษะการคิดเหตุผลตรรกะ 2.2.4 พัฒนาทักษะแก้ปัญหาและตัดสินใจ 2.3 เสริมสร้าง HOTS ในผู้เรียน

2.4 ประเมิน HOTS ของผู้เรียน

3. ส่งเสริมการพัฒนาชีวิตและทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน ประกอบด้วยภาระงานและ ความสามารถเฉพาะ ดังนี้

3.1 ให้ความรู้ สร้างทักษะและความถนัดรวมถึงค่านิยมของศตวรรษที่ 21 3.2 ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนในด้านการเรียนรู้เพื่อให้รู้จัก ความรู้ ทักษะ ความถนัด และค่านิยม

3.3 ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนในด้านการเรียนเพื่อใช้ความรู้ ทักษะ ความถนัด และค่านิยม

3.4 ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนเพื่อเป็นผู้ที่มีความรู้ ทักษะ ความถนัด และค่านิยม

3.5 ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนให้อยู่อย่างมีความรู้ ทักษะ ความถนัดและ ค่านิยม

3.6 ประเมินนักเรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความถนัด และค่านิยม 12 ประการ 4. การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน ประกอบด้วยภาระงานและ

ความสามารถเฉพาะ ดังนี้

4.1 แนะน าและให้ค าปรึกษาแก่นักเรียน

4.2 พัฒนาการให้ค าปรึกษาและทักษะอื่นในแบบบูรณาการ 4.3 จัดและสนับสนุนกิจกรรมด้านสังคมและหลักสูตรเสริม 4.4 ช่วยเหลือนักเรียนในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน

49 4.5 ด าเนินการบริหารจัดการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ส านักงานเลขาธิการคุรุสภา (2556) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู้

และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะด้านการเข้าใจผู้เรียนดังต่อไปนี้

1. จิตวิทยาส าหรับครู ประกอบด้วย 1.1 สาระความรู้

1.1.1 จิตวิทยาพื้นฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์

1.1.2 จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษา 1.1.3 จิตวิทยาการแนะแนวและการให้ค าปรึกษา 1.2 สมรรถนะ

1.2.1 สามารถให้ค าแนะน าช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 1.2.2 ใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็ม ศักยภาพ

ตาราง 4 การสังเคราะห์ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านการเข้าใจผู้เรียน

Garis besar

Dokumen terkait