• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านการเข้าใจผู้เรียน

49 4.5 ด าเนินการบริหารจัดการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ส านักงานเลขาธิการคุรุสภา (2556) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู้

และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะด้านการเข้าใจผู้เรียนดังต่อไปนี้

1. จิตวิทยาส าหรับครู ประกอบด้วย 1.1 สาระความรู้

1.1.1 จิตวิทยาพื้นฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์

1.1.2 จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษา 1.1.3 จิตวิทยาการแนะแนวและการให้ค าปรึกษา 1.2 สมรรถนะ

1.2.1 สามารถให้ค าแนะน าช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 1.2.2 ใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็ม ศักยภาพ

ตาราง 4 การสังเคราะห์ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านการเข้าใจผู้เรียน

50 จากการสังเคราะห์จะเห็นว่า ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านการเข้าใจผู้เรียน ประกอบด้วย

1. รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล

2. วิเคราะห์ความแตกต่างของผู้เรียน 3. มีความเข้าใจในพฤติกรรมของผู้เรียน 4. ประเมินความต้องการเรียนรู้ของผู้เรียน 5. มีความสามารถในการพัฒนาผู้เรียน ตัวชี้วัดองค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้

ได้มีนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงตัวชี้วัดขององค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการ เรียนรู้ไว้ดังนี้

สมบูรณ์ ตันยะ (2524) ได้เสนอสมรรถภาพของครูที่เกี่ยวกับด้านกระบวนการเรียนรู้ไว้

ดังนี้

1. สมรรถภาพด้านการวางแผนการเรียนการสอน ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน ล าดับขั้นของเนื้อหาวิชาและกิจกรรมการ เรียนการสอน การจัดห้องเรียน แผนการสอนและบันทึกการสอน รวมทั้งน ามาประยุกต์ใช้ในการ ด าเนินการวางแผนการเรียนการสอนเพื่อให้ด าเนินไปตามขั้นตอนที่เหมาะสม

2. สมรรถภาพด้านวิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการน าเข้าสู่บทเรียน การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน การใช้ค าถาม การสอนซ่อม เสริม การเล่านิทาน การสรุปบทเรียน วิธีสอน และกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมกับ เนื้อหาวิชา สภาพแวดล้อม ระดับพัฒนาการ ความต้องการและความสนใจของผู้เรียน

3. สมรรถภาพด้านการเรียนการสอน ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสื่อการ เรียนการสอน รวมทั้งความสามารถในการสร้าง จัดหา บ ารุงรักษา และการใช้สื่อการเรียนรู้ได้อย่าง เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา สภาพแวดล้อม พัฒนาการ ความต้องการ และความสนใจของผู้เรียน

Ministry Of National Education, Turkish Republic (2006) ได้ก าหนดกรอบ สมรรถนะของครูในการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ดังนี้

1. กระบวนการจัดการเรียนการสอน (Teaching and Learning Process) ประกอบด้วยสมรรถนะ

1.1 การวางแผนการเรียนรู้

1.2 การเตรียมวัสดุ

1.3 การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้

1.4 การจัดกิจกรรมพิเศษ

1.5 จัดการศึกษาที่หลากหลายโดยค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล

51 1.6 การจัดการเวลา

1.7 การจัดการพฤติกรรม

British Council (2009) ได้ก าหนดกรอบสมรรถนะการสอนของครูกระบวนการจัดการ เรียนรู้ประกอบด้วย

1. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Course and Session) หมายถึง มีความสามารถ ในการจัดเตรียมหลักสูตรและจัดให้เหมาะสมในแต่ละวัตถุประสงค์ และใช้กระบวนการ วิธีการที่

ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน

2. ทักษะการจัดการชั้นเรียน (Classroom Management Skill) หมายถึง ความสามารถในการวางแผน การควบคุมและอ านวยความสะดวกต่างๆ ให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการ เรียนการสอนสนองความต้องการที่แตกต่างกันทางความสามารถ วัฒนธรรมของผู้เรียน

3. ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างอิสระ (Promoting Lerner Autonomy) หมายถึง ความสามารถในการประเมินความต้องการของผู้เรียนด้วยกลยุทธ์และวิธีที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้เรียน บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ได้ ตามความมุ่งหมายของผู้เรียนอย่างอิสระ และความสามารถในการช่วย ให้ผู้เรียนปรับลักษณะการเรียนรู้และกลยุทธ์เพื่อประสิทธิผลการเรียนรู้ที่ดี

SEAMEO INNOTECH (2009) ได้เสนอกรอบสมรรถนะของครูแห่งเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้ในศตวรรษที่ 21 มีมติก าหนดกรอบสมรรถนะของครูกระบวนการจัดการเรียนรู้ไว้

ดังนี้

1. การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียน 1.1 ประเมินความต้องการเรียนรู้ที่มีอยู่จริง

1.2 จัดระบบของวัตถุประสงค์ให้ครอบคลุมถึงความรู้ ทักษะ ความถนัดและ ค่านิยม

1.3 จัดเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรและระยะเวลา 1.4 จัดเตรียมแผนการสอนโดยค านึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน 1.5 เลือกวิธีสอนที่เหมาะสมกับรายวิชาและระดับของผู้เรียน 1.6 เลือกอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม 1.7 ก าหนดมาตรการการประเมินผลที่เหมาะสม

1.8 น าผลการประเมินผู้เรียนและข้อคิดเห็นของผู้สอนมาพัฒนาแผนการสอน 2. การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้

2.1 สนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ปลอดภัย สะอาดเป็นระเบียบ 2.2 ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออาทรและเรียนรู้อย่างเป็นมิตร

2.3 จูงใจให้เกิดการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น

52 2.4 ส่งเสริมการรักษามาตรฐานระดับสูงของสมรรถนะการเรียนรู้

2.5 เคารพในความหลากหลายของผู้เรียน

2.6 คงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือ 3. การพัฒนาและใช้ทรัพยากรส าหรับการเรียนการสอน

3.1 แสวงหาทักษะและความรู้การใช้ทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน 3.2 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบทเรียน

3.3 ใช้สื่อระหว่างการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ 3.4 บูรณาการ ICT กับการเรียนการสอน

3.5 ติดตามและประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอน

ดวงกมล สินเพ็ง (2553) กล่าวว่า บทบาทของครูกระบวนการจัดการเรียนรู้ได้แก่

1. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อส่งเสริมให้

ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต

2. ด้านการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้านพัฒนาผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้

เลือกเรียนตามความสนใจ ความสามารถ ความถนัด ผู้เรียนได้พัฒนาทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์

คุณธรรม จริยธรรม สังคม และการบาเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553) ได้ก าหนดสมรรถนะ

ประจ าสายงานของครูผู้สอนเพื่อใช้เป็นกรอบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนตาม ขอบข่ายงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้

ได้แก่

1. ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ ประกอบด้วยสมรรถนะ ดังนี้

1.1. ก าหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ประยุกต์

ริเริ่ม เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ ความแตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียนเป็นรายบุคคล 1.2 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมสอดคล้องกับ วัย และความต้องการของผู้เรียนและชุมชน

1.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้ การจัด กิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้

1.4 จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยบูรณาการอย่าง สอดคล้องเชื่อมโยงกัน

1.5 มีการน าผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้และ ปรับใช้ตามสถานการณ์อย่างเหมะสมและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาดหวัง

53 1.6 ประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้เพื่อน า ไปปรับปรุง/พัฒนา

2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ประกอบด้วยสมรรถนะ ดังนี้

2.1 จัดท าฐานข้อมูลเพื่อออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

2.2 ใช้รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ

2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง/ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ สมรรถนะของผู้เรียน

2.4 ใช้หลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ

2.5 ใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนในการจัดการเรียนรู้

2.6 พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชน 3. การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย สมรรถนะ ดังนี้

3.1 ใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้

3.2 สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้

3.3 ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการ เรียนรู้

ส านักงานเลขาธิการคุรุสภา (2556) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู้

และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู ซึ่งเกี่ยวกับด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย สมรรถนะดังต่อไปนี้

1. การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ประกอบด้วย 1.1 สาระความรู้

1.1.1 หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดท าแผนการเรียนรู้การ จัดการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้

1.1.2 ทฤษฎีและรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์คิด สร้างสรรค์และแก้ปัญหาได้

1.1.3 การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม 1.1.4 การจัดการชั้นเรียน

1.1.5 การพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา 1.2 สมรรถนะ

54 1.2.1 สามารถจัดท าแผนการเรียนรู้และน าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริง 1.2.2 สามารถสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

Garis besar

Dokumen terkait