• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทักษาการพยากรณ์ 1 การพยากรณ์ทั่วไป

บทที่ 1 บทนำ

จำนวน 18 ชั่วโมง

8. ทักษาการพยากรณ์ 1 การพยากรณ์ทั่วไป

- ทำนายผลที่เกิดขึ้นจากข้อมูลที่เป็นหลักการกฎหรือทฤษฎีที่มีอยู่ได้

8.2 การพยากรณ์จากข้อมูลเชิงปริมาณ

- ทำนายผลที่จะเกิดขึ้นภายในขอบเขตของข้อมูลเชิงปริมาณที่มีอยู่ได้

- ทำนายผลที่เกิดขึ้นภายนอกขอบเขตของข้อมูลเชิงปริมาณที่มีอยู่ได้

ตารางที่ 11 แสดงเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์

รายการประเมิน

เกณฑ์การประเมิน

ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)

1 . ท ั ก ษ ะ ก า ร สังเกต

ก า ร บ ร ร ย า ย รายละเอียดของ สิ่งที่สังเกต

สามารถใช้ประสาท สัมผัสและแว่นขยาย เก็บรายละเอียด ข้ อ ม ู ล ขอ ง ส ิ ่ ง ที่

สังเกตได้ด้วยตนเอง โดยไม่เพิ่มความ คิดเห็น

สามารถใช้ประสาท สัมผัสและแว่นขยาย เก็บรายละเอียดข้อมูล ของสิ่งที่สังเกตได้ จาก การชี้แนะของครูหรือ ผู้อื่นหรือมีการเพิ่มเติม ความคิดเห็น

สามารถใช้ประสาท สัมผัสและแว่นขยาย เก็บรายละเอียดข้อมูล ของสิ่งที่สังเกตได้เพียง บางส่วนแม้ว่าจะได้

รับคำชี้แนะจากครู

หรือผู้อื่น 2. ทักษะการวัด การใช้เครื่องชั่ง

สปริงอ่านค่าแรง ที่กระทำต่อถุง ทรายเชือกผูก เ ป ็ น ว ง แ ล ะ ก ร ะ ด า ษ แ ข็ ง แล ะ ก า ร ร ะ บุ

หน่วยของแรง

สามารถใช้เครื่องชั่ง สปริงอ่านค่าแรง ที่

กระทำต่อถุงทราย เชือกผูกเป็นวง และ กระดาษแข็ง และ ระบุหน่วยของแรง ได้ถูกต้อง

สามารถใช้เครื่องชั่งสปริง อ่านค่าแรง ที่กระทำต่อ ถุงทรายเชือกผูกเป็นวง และกระดาษแข็ง และ ระบุหน่วยของแรงไม่

ถูกต้อง หรือใช้เครื่องชั่ง สปริงไม่ถูกต้อง แต่ระบุ

หน่วยของแรงได้ถูกต้อง

สามารถใช้เครื่องชั่ง สปริงอ่านค่าแรง ที่

กระทำต่อถุงทราย เชือกผูกเป็นวง และ ก ร ะ ด า ษ แ ข ็ ง ไ ด้

ถูกต้องเพียงบางส่วน และระบุหน่วยของ แรงไม่ถูกต้อง 3. ทักษะการ

จำแนกประเภท

การจำแนกตัว ต่อโดยใช้รูปร่าง เป็นเกณฑ์

สามารถจำแนกตัว ต่อโดยใช้รูปร่างเป็น เกณฑ์ได้ถูกต้อง ทั้งหมดด้วยตนเอง

สามารถจำแนกตัวต่อ โดยใช้รูปร่างเป็นเกณฑ์

ได้ถูกต้องทั้งหมดจาก การชี้แนะของครูหรือ ผู้อื่น

สามารถจำแนกตัวต่อ โดยใช้รูปร่างเป็น เกณฑ์ได้ถูกต้องเป็น บางส่วนแม้ว่าจะมีครู

หรือผู้อื่นชี้แนะ

ตารางที่ 11 แสดงเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ)

ทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน

ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)

4. ท ั ก ษ ะ ก า ร ห า ความสัมพันธ์ระหว่าง สเปซกับสเปซสเปซกับ เวลา

การวางตัวต่อ บนกระดานได้

เต็มพื้นที่

สามารถวางตัวต่อ บนกระดานได้เต็ม พื้นที่ด้วยตนเอง

สามารถวางตัวต่อบน กระดานได้เต็มพื้นที่

จากการชี้แนะของครู

หรือผู้อื่น

สามารถวางตัวต่อบน กระดานได้แต่ไม่เต็ม พื้นที่

5. ท ั ก ษ ะ ก า ร จั ด ก ร ะ ท ำ แ ล ะ สื่ อ ความหมายข้อมูล

ก า ร น ำ เ ส น อ ข้อมูลปริมาณ ขยะในแต่ละปี

ม า จ ั ดก ร ะ ท ำ และนำเสนอใน รูปแบบตาราง และแผนภูมิ

การนำเสนอข้อมูล ปริมาณขยะในแต่ละ ปีมาจัดกระทำและ นำเสนอในรูปแบบ ตารางและแผนภูมิ

ได้อย่างถูกต้องและ ครบถ้วนด้วยตนเอง

การนำเสนอข้อมูล ปริมาณขยะในแต่ละปี

ม า จ ั ดก ร ะ ท ำ แ ล ะ นำเสนอในรูปแบบ ตารางและแผนภูมิ

ถูกต้องและครบถ้วน จากการชี้แนะของครู

หรือผู้อื่น

การนำเสนอข้อมูล ปริมาณขยะในแต่ละปี

ม า จ ั ดก ร ะ ท ำ แ ล ะ นำเสนอในรูปแบบ ตารางและแผนภูมิได้

อย่างถูกต้องบางส่วน แม้ว่าจะได้รับคำชี้แนะ จากครูหรือผู้อื่น 6. ทักษะการลง

ความเห็นจากข้อมูล

การลงความเห็น จากข้อมูลว่าการ สังเกตสิ่งต่างๆ โดยใช้แว่นขยาย ทำให้ได้ข้อมูลที่

ช ั ด เ จ น แ ล ะ ละเอียดว่าการ สังเกตโดยใช้ตา เปล่า

สามารถลงความเห็น จากข้อมูลว่าการ สังเกตสิ่งต่างๆ โดย ใช้แว่นขยายทำให้ได้

ข้อมูลที่ชัดเจนและ ล ะ เ อ ี ย ด ว ่ า ก า ร สังเกตโดยใช้ตา เปล่าได้อย่างถูกต้อง และชัดเจนได้ด้วย ตนเอง

สามารถลงความเห็นจาก ข้อมูลว่าการสังเกตสิ่ง ต่างๆ โดยใช้แว่นขยายทำ ให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและ ละเอียดว่าการสังเกตโดยใช้

ตาเปล่าลงความเห็นได้

อย่างถูกต้องและชัดเจน จากการชี้แนะของครูหรือ ผู้อื่น

ลงความเห็นจากข้อมูล ว่าการสังเกตสิ่งต่างๆ โดยใช้แว่นขยายทำให้

ได้ข้อมูลที่ที่แตกต่าง จากการสังเกตโดยใช้

ตาเปล่าแต่ไม่สามารถ บอกได้ว่าแตกต่าง อย่างไร แม้จะได้รับคำ ชี้แนะจากครูหรือผู้อื่น

ตารางที่ 12 แสดงเกณฑ์การแปลความหมายการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เกณฑ์การแปลความหมายการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ค่าเฉลี่ย ระดับการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2.50-3.00 ดี

1.50-2.49 พอใช้

1.00-1.49 ควรปรับปรุง

2. สร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ เพื่อพิจารณาความถูกต้องของเนื้อหาแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยมีข้อปรับปรุงแก้ไขให้มี

เกณฑ์การแปลความหมายการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

3. นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ผู้เชี่ยวชาญชุดเดิมตามข้อมูลที่กล่าวแล้ว หน้า 91 เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

(Content Validity) และความถูกต้องโดยการนำแบบประเมินไปหาค่าดัชนี ความสอดคล้องของ

แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยคำนวณหาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Index of Objective Congruence : IOC) ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00

4. นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ เพื่อความสมบูรณ์ของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

5. นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาวิจัยต่อไป สรุปขั้นตอนการสร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สรุปได้ดัง แผนภาพที่ 4

ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จากเอกสาร

สร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อพิจารณาความ ถูกต้องของเนื้อหาแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข

นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง

(Index of Objective Congruence : IOC)

ปรับปรุงแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาวิจัยต่อไป

แผนภาพที่ 4 ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์