• Tidak ada hasil yang ditemukan

ขั้นตอนการศึกษาสภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอน และข้อมูลพื้นฐาน

น าแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามความคิดเห็นฯ ไปใช้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างเป้าหมายทั้งสองกลุ่ม (ดังที่ได้ออกแบบไว้)

ระยะที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ สภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วย กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการท างานร่วมกัน ผ่านการศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วย กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการท างานร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอน และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก

วิเคราะห์ สังเคราะห์ เอกสารหลักการทฤษฎีถึงขั้นตอน และองค์ประกอบวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษา เพื่อการสื่อสารแบบผสมผสานด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการท างานเป็นทีม

ออกแบบข้อค าถามส าหรับการสัมภาษณ์และการสอบถามความคิดเห็น ฯ เกี่ยวกับสภาพปัญหา และความต้องการ ในการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก

ตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามความคิดเห็นฯ ด้วยการทดลองใช้กับผู้เชี่ยวชาญด้านวิธีการสอน ภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก ด้านเนื้อหา ด้านวิธีสอน

รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (ส าหรับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์) และวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิง พรรณนา (ส าหรับข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นฯ)

ได้ขั้นตอน และองค์ประกอบของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วย กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการท างานเป็นทีม ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อ

น าไปใช้เป็นแนวทางในการร่างโมเดลฯ

125 ระยะที่ 2

การส ารวจและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกที่สะท้อนผ่านการวัดทักษะในการสื่อสาร เชิงสร้างสรรค์ ทักษะการท างานร่วมกัน ตลอดจนความคิดเห็นของผู้สอน (อาจารย์) และผู้เรียน (นักศึกษา) ที่มีต่อโมเดลฯ เพื่อน ามาสู่การพัฒนาและทดลองใช้โมเดลฯ สามารถอธิบายขั้นตอนย่อย ดังนี้

วัตถุประสงค์

เพื่อจัดท าร่างโมเดลสภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์

และทักษะการท างานร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

การก าหนดกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในระยะที่ 2 ประกอบด้วย 3 กลุ่มหลักคือ

กลุ่มหลักที่ 1 ส าหรับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องมือทั้งที่มีลักษณะเป็น แบบวัดทักษะ จ านวน 3 ฉบับได้แก่ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะ การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ แบบวัดทักษะการท างานร่วมกัน โดยผู้เชี่ยวชาญชุดที่ 2 ได้แก่

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต เกตุกระทุ่ม รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชสรา บุญแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

3. อาจารย์จีรพรรณ ขจรจิตต์จรัส มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4. อาจารย์วารุณี สุรโยธี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

5. ดร. พิสุทธิ์พงศ์ เอ็นดู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สุรินทร์

กลุ่มหลักที่ 2 แบบประเมิน ความสอดคล้องขององค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้าง โมเดลจากผู้ทรงคุณวุฒิ โดยผู้เชี่ยวชาญชุดที่ 3 ได้แก่

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ อภิบาลศรี อาจารย์ประจ าโปรแกรมวิชา เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

2. รองศาสตราจารย์ ดร.รสริน พิมลบรรยงก์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนา บุคลากรและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกาศิต สิทธิ์ธิติกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

126 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต เกตุกระทุ่ม รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชสรา บุญแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

6. อาจารย์จีรพรรณ ขจรจิตต์จรัส มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 7. อาจารย์วารุณี สุรโยธี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

กลุ่มหลักที่ 3 เป็นการประเมินร่างโมเดลด้วยกระบวนการ connoisseurship โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญและทรงคุณวุฒิ ในการประเมินร่างโมเดลประเมิน ร่างโมเดล ที่สร้างขึ้น โดย ผู้เชี่ยวชาญชุดที่ 4 จ านวน 9 ท่าน ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ได้แก่

1. รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2. รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ชิวพิมาย รองอธิการบดีวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท อิศรปรีดา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 4. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ อภิบาลศรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

5. รองศาสตราจารย์ ดร.รสริน พิมลบรรยงก์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาบุคลากร และวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกาศิต สิทธิ์ธิติกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต เกตุกระทุ่ม รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

8. ดร พิสุทธิ์ พงศ์ เอ็นดู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สุรินทร์

9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุชสรา บุญแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ร่าง “โมเดลสภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมทักษะในการ สื่อสารเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการท างานร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี” ซึ่งมีขั้นตอนการ ด าเนินการดังนี้

1. ผู้วิจัยน าผลที่ได้จากการสัมภาษณ์และแบบสอบถามความคิดเห็นฯ จากระยะที่ 1 ในแต่ละด้าน คือ ด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารแบบ

127 ผสมผสานด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก ด้านเนื้อหา ด้านวิธีสอน และข้อมูลความคิดเห็นของ

นักศึกษามาสรุป และด าเนินการออกแบบร่างโมเดลฯ

2. ออกแบบและก าหนดสร้าง ร่างโมเดลฯ ด้วยการน าองค์ประกอบและระยะที่ได้

จากการวิเคราะห์ในระยะที่ 1 ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอน ภาษาเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสานด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก ด้านเนื้อหา ด้านวิธีสอน และ ความคิดเห็นของนักศึกษา มาจัดสร้างเป็นร่างโมเดลฯ ดังนี้

2.1 การก าหนด ขั้นตอนและองค์ประกอบของโมเดลสภาพแวดล้อมการจัดการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริม ทักษะในการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการท างานร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยที่

2.1.1 ผู้สอน เป็นผู้ฝึก (Coach) ผู้ชี้แนะ หรือที่ปรึกษา เป็นผู้สนับสนุนและ เสริมแรง ด้านสื่ออุปกรณ์ หรือให้ค าแนะน าช่วยเหลือ ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนการสอนที่ผู้สอนได้จัดไว้ให้ เป็นผู้จัดรายวิชา ชี้แจงท าความเข้าใจในภาพรวมของกิจกรรมต่างๆ จัดท าเนื้อหา แบ่งกลุ่มผู้เรียน ออกแบบสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน วางแผนการ จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก โดยใช้กิจกรรม เพื่อส่งเสริมการคิด อย่างมีวิจารณญาณ การคิดแก้ปัญหา และการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

2.1.2 ผู้เรียน เป็น “ผู้แสวงหา” (Researcher) ผู้เรียนจะไม่เป็นผู้เรียน ที่คอยแต่รับการสอน แต่จะมีบทบาทเป็นผู้ศึกษา ผู้ค้นคว้า เสาะแสวงหาความรู้ สร้างองค์ความรู้

และใช้องค์ความรู้นั้นๆ ด้วยตนเองในการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วย กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก ผู้เรียนจะต้องมีความรับผิดชอบ เพราะต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ตามกิจกรรมที่ก าหนด

2.1.3 เทคโนโลยี คือ เทคโนโลยีที่สามารถใช้ในการติดต่อสื่อสารและส่งงาน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย น ามาใช้ในรูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษา เพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และ ทักษะการท างานเป็นทีม ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

2.1.4 สภาพแวดล้อมในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (การเรียนการสอน ในชั้นเรียน ออนไลน์) มุ่งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ ในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง มียุทธวิธีการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงสุด ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมการเรียนรู้เอง ทั้งกิจกรรมการเรียนเป็นกลุ่มและกิจกรรมการเรียนส่วนบุคคล เป็นวิธีการเรียนที่ต้องการให้เกิดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการผสมผสานระหว่าง การเรียนการสอนแบบเผชิญหน้า (Face to Face) กับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online)

Garis besar

Dokumen terkait