• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงผลการประเมินความสอดคล้องขององค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้างโมเดลจาก

179 ผู้วิจัยได้น าหัวข้อที่คัดสรรไว้ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 8 ท่านประเมินความสอดคล้องของ องค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้างโมเดลซึ่งผลการประเมินแสดงในตาราง 10

ตาราง 10 แสดงผลการประเมินความสอดคล้องขององค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้างโมเดลจาก

180 ตาราง 10 (ต่อ)

องค์ประกอบ มีความสอดคล้อง

̅ S.D. ความหมาย

สภาพแวดล้อมทางด้านสังคม (Social Environment)

22. ตลาดแรงงานมีความต้องการบุคลาการที่มีความสามารถในการใช้ทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4.51 0.53 มากที่สุด

23. ตลาดแรงงานมีความต้องการบุคลาการที่มีความสามารถในการใช้ทักษะการท างานร่วมกัน 3.87 1.12 มาก

สภาพแวดล้อมทางด้านสารสนเทศ (Information Environment)

24. การใช้บริการแหล่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ในการจัดเก็บ สืบค้น ข้อมูลเพิ่มเติมของผู้เรียน 3.87 1.12 มาก

25. การจัดท าบอร์ดให้ความรู้แก่ผู้เรียนทั้งภายในห้องเรียน หรือภายนอกห้องเรียน 3.87 1.12 มาก

26. การจัดท าแหล่งข้อมูลให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียน/การใช้ภาษาอังกฤษ 4.50 0.53 มาก

กระบวนการจัดการเรียนการสอน ด้านปัจจัยน าเข้า

27. ผู้สอนสร้างแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษต่อผู้เรียน 4.25 0.70 มาก

28. ผู้สอนเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับเทคโนโลยี่ให้กับผู้เรียน 3.87 1.24 มาก

29.ผู้สอนแจ้งเนื้อหาที่ใช้ในการสอนและวิธีการสอนให้ผู้เรียนทราบ 3.87 0.99 มาก

ด้านกระบวนการ

30. ผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร แบบผสมผสาน ได้อย่างเหมาะสม

3.75 1.03 มาก

31. ผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4.53 0.53 มากที่สุด

32. ผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการท างานร่วมกัน 3.87 0.83 มาก

33. ผู้สอนจัดการสอนเสริม หรือให้ค าแนะน าแก่ผู้เรียนภายนอกห้องเรียนอย่างเหมาะสม 4.37 0.74 มาก

34. ผู้สอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน 4.37 0.74 มาก

35. กิจกรรมการเรียนการสอนและเนื้อหาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 4.00 0.92 มาก

36. ผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าที่จะแสดงออกในการสื่อสาร 4.00 0.92 มาก

37. การฝึกฝนเป็นกระบวนการที่ส าคัญในการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3.87 0.83 มาก

38. บรรยากาศในการเรียนที่สนุกส่งผลต่อการเรียนรู้ 3.62 0.51 มาก

39. ผู้สอนให้ก าลังใจในการเรียนสม่ าเสมอ 3.87 0.83 มาก

ด้านผลลัพธ์

40. ความถี่ในการจัดกิจกรรมการวัดประเมินผล 3.87 0.99 มาก

41. ช่วงเวลาในการจัดกิจกรรมการวัดประเมินผล 4.12 0.83 มาก

42. กิจกรรมการวัดประเมินผล 4.00 0.92 มาก

43. เครื่องมือที่ใช้ในกาวัดประเมินผล 4.00 0.75 มาก

44. การก าหนดเกณฑ์ที่เหมาะสมในการวัดประเมินผล 3.87 0.83 มาก

45. การใช้ความยุติธรรมในการวัดประเมินผล 4.00 0.75 มาก

รวม 4.07 0.88 มาก

181 จากตาราง 10 การประเมินความสอดคล้องขององค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้างโมเดล จากผู้ทรงคุณวุฒิในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ( ̅) เท่ากับ 4.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.88 เมื่อมองรายองค์ประกอบ พบว่ามีข้อที่ผลการการประเมินความสอดคล้องของ องค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้างโมเดลจากผู้ทรงคุณวุฒิในภาพรวม อยู่ในระดับมากทึ่สุด ได้แก่

ผู้เรียนมีความอบอุ่นทางใจ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ( ̅) เท่ากับ 4.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.75 ผู้เรียนมีค่านิยมที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ( ̅) เท่ากับ 4.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.53 ปฏิสัมพันธ์ในทางบวกระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองภายในห้องเรียน ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ( ̅) เท่ากับ 4.51ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.75 ตลาดแรงงานมีความต้องการบุคลาการที่มี

ความสามารถในการใช้ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ̅ เท่ากับ 4.51 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.53 ผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ( ̅) เท่ากับ 4.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.53 ส่วน ข้อที่เหลือ ผลการประเมินความสอดคล้องขององค์ประกอบเพื่อพัฒนาสู่การสร้างโมเดลจาก

ผู้ทรงคุณวุฒิในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ( ̅) อยู่ในช่วง 3.62 – 4.50 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) อยู่ในช่วง 0.53–1.30 จากองค์ประกอบข้างต้นผู้วิจัยได้น าหัวข้อมาพัฒนาเป็นร่าง โมเดลดังภาพประกอบ 7

182

ภาพประกอบ 9 โมเดลการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสานด้วยกระบวนการเรียนรู้

เชิงรุก เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์และทักษะการท างานร่วมกันของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี

กระบวนการ

1. วิเคราะห์และก าหนดจุดมุ่งหมาย ของการจัดสภาพแวดล้อม 2. ออกแบบสภาพแวดล้อมและ

กิจกรรมการเรียนการสอน 3. พัฒนาสภาพแวดล้อมและ

กิจกรรมการเรียนการสอน 4. ด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน

5. วัดผลและประเมินผลการจัด สภาพแวดล้อม

1. ตั้ง วัตถุประสงค ์ 2. สอนให้

ค วาม กระจ่าง

3. ฝึกตัว ภาษา

4. ถ่ายโอน ปัจจัยน าเข้า สภาพแวดล้อมการเรียนการ

สอนแบบผสมผสาน แบบออนไลน์ แบบออฟไลน์

เนื้อหาสาระวิชา ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร

กระบวนการ เรียนรู้เชิงรุก การเรียนรู้ร่วมกัน

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ

สภ าพ แว ดล ้อมท าง สารส นเท สภ าพ แว ดล ้อมท าง จิต ภาพ

ผลลัพธ์ ทักษะการคิดเชิง สร้างสรรค์

ทักษะการท างาน

ร่วมกัน เจตคติที่ดีต่อการเรียน

สภาพแวดล้อมทางสังคม

183 ผู้วิจัยได้จัดการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) โดยน าแบบร่างโมเดลฯ พร้อมค าอธิบายให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 ท่าน เพื่อประเมินโมเดลฯ ที่มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ซึ่งใช้แบบ ประเมินโมเดลนั้นผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน

ซึ่งผลการประเมินโมเดลฯ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ความหมายของระดับคะแนนในการ ประเมินโมเดลในแต่ละด้าน (บุญชม ศรีสะอาด, 2554) แสดงในตาราง 11

ระดับ ความหมาย 4.51 - 5.00 อยู่ในระดับดีมาก 3.51 - 4.50 อยู่ในระดับดี

2.51 - 3.50 อยู่ในระดับปานกลาง 1.51 - 2.50 อยู่ในระดับที่ใช้ได้

1.00 - 1.50 อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง

ตาราง 11 แสดงผลการประเมินโมเดลการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสาน

Garis besar

Dokumen terkait