• Tidak ada hasil yang ditemukan

หน่วยงานที่เป็นตัวแสดงหลัก

4.1 ตัวแสดงทางนโยบายในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร

4.1.1 หน่วยงานที่เป็นตัวแสดงหลัก

การพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร มีหน่วยงานที่เป็นตัวแสดง หลักในการพัฒนาพื้นที่ คือ กรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เนื่องด้วยเป็นตัวแสดงในภาครัฐ ประเภทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ที่มีภารกิจ และอ านาจหน้าที่ในการบริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร เพื่อแก้ไขปัญหาและ พัฒ นาเมืองในเขตพื้นที่ โดยมีการแบ่งโครงสร้างการบริหารราชการเป็น ระดับส านัก หน่วยงานส าหรับส านักงานเขต หน่วยงานพาณิชย์กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลในสังกัด สนพ.

และหน่วยงานทั่วไป

ตามแผนการด าเนินงานในแต่ละตัวชี้วัดและโครงการ มีลักษณะที่เป็นการบูรณาการ การท างานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกรุงเทพมหานคร มาร่วมด าเนินงานพัฒนาพื้นที่

สาธารณะสีเขียว ตามแต่ละภารกิจของส่วนราชการนั้นๆ โดยมีทั้งหน่วยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด และหน่วยงานรับผิดชอบโครงการ ซึ่งจากแผนปฏิบัติราชการประจ าปี ที่ถูกจัดท าขึ้นเพื่อเป็นการ ก าหนดทิศทางการด าเนินงานพัฒนากรุงเทพมหานคร ให้ทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ร่วมกันด าเนินการอย่างบูรณาการเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายรวม พบว่ากรุงเทพมหานคร มีมาตรการที่ให้ความส าคัญกับการด าเนินงานในลักษณะเครือข่าย เช่น การก าหนดมาตรการ การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน การส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ

วางแผนการท างานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น แผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานคร ประจ าปี พ.ศ.2564 ภายใต้แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี

ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 – 2565) ด้านที่ 2 มหานครสีเขียว สะดวกสบาย มิติที่ 2.2 พื้นที่

สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ เป้าหมายที่ 2.2.1 กรุงเทพมหานครเป็นมหานคร ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียว เพื่อการพักผ่อนเพียงพอตามมาตรฐานสากล มีการก าหนด หน่วยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด คือ ส านักสิ่งแวดล้อม และในแต่ละโครงการจะมีหน่วยงานรับผิดชอบ โครงการที่แตกต่างกันไป เช่น ส านักการโยธา ส านักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว ส านัก พัฒนาสังคม และส านักงานเขตที่ดูแลเขตพื้นที่นั้นๆ

ส าหรับการก าหนดตัวโครงการพัฒนาเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะสีเขียวของ กรุงเทพมหานคร จะมีส านักสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการพัฒนาและดูแลรักษา พื้นที่สีเขียวและพื้นที่รูปแบบสวนที่ตรงตามเฉพาะค านิยามตามภารกิจหน่วยงานเป็นหลัก ส่วนพื้นที่สาธารณะสีเขียวรูปแบบอื่น ที่มีพื้นที่สีเขียวเป็นองค์ประกอบ ก็จะมีส่วนราชการอื่น เป็นเจ้าของโครงการ และนอกจากนี้ ยังมีบทบาทส าคัญในระดับนโยบาย คือ การวางผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร ที่มีส านักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ซึ่งเป็นระเบียบ กฎหมายที่มีผลต่อทิศทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลักๆ ได้แก่

(1) ส านักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร

- สถานะและภารกิจ ส านักสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานระดับส านัก มีภารกิจ

ในการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การศึกษา ส ารวจ วิเคราะห์ จัดท าแผนงานและโครงการ ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ไข ฟื้นฟู ส่งเสริม พัฒนา และดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การบริหาร

จัดการมูลฝอยของเสียอันตราย สิ่งปฏิกูลและไขมันของกรุงเทพมหานครทั้งระบบ การตรวจสอบ ควบคุม เฝ้าระวัง คุณภาพอากาศและเสียง การดูแลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร รวมถึง การเก็บสถิติจ านวนพื้นที่สาธารณะสีเขียว (สวนสาธารณะ สวนหย่อม ฯลฯ) และขนาดพื้นที่สีเขียว (จ านวนต้นไม้จากการปรับภูมิทัศน์) สัดส่วนพื้นที่สีเขียวต่อประชากร โดยมีส่วนราชการภายใน ประกอบด้วย ส านักงานเลขานุการ กองนโยบายและแผนงาน ส านักงานจัดการมูลฝอยและ สิ่งปฏิกูล กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กองก าจัดมูลฝอย และส านักงานสวนสาธารณะ

- บทบาทในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว ส านักสิ่งแวดล้อมเป็น หน่วยงานหลักในการรับผิดชอบงานด้านการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวของกรุงเทพมหานคร โดยมีส านักงานสวนสาธารณะ เป็นส่วนงานหลักที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการวางแผนและ

พัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การส ารวจพื้นที่ที่จะสามารถน ามาพัฒนา การบริหารจัดการและปรับปรุงดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวและพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตพื้นที่ของ กรุงเทพมหานคร ตามโครงการและตั้งงบประมาณประจ าปีไว้ส าหรับการพัฒนาพื้นที่รูปแบบ สวนสาธารณะตามค านิยามที่ส านักสิ่งแวดล้อมก าหนด โดยส านักงานสวนสาธารณะ มีการแบ่ง ส่วนราชการภายใน ได้แก่ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กลุ่มงานวิชาการ กลุ่มงานออกแบบสวน ฝ่ายปลูก บ ารุงรักษา กลุ่มงานขยายพันธุ์ไม้ ฝ่ายซ่อมบ ารุง ส่วนสวนสาธารณะ1 ส่วนสวนสาธารณะ2 ซึ่งผู้ศึกษาสรุปบทบาทในการด าเนินงาน ได้ดังนี้

- การดูแล ขยายพันธุ์ ปลูกและบ ารุงรักษาพันธุ์ไม้ รวมไปถึง การตัดแต่ง ขุดย้าย การประดับตกแต่งต้นไม้ การตกแต่งเมือง

- การวางแผนและพัฒนาการเพิ่มพื้นที่สีเขียว

- การบริหารจัดการสวนสาธารณะ สวนหย่อม ฯลฯ และการดูแล จัดกิจกรรมต่างๆ ภายในสวน

- การส ารวจและประเมินศักยภาพพื้นที่ที่จะน ามาพัฒนา และออกแบบ ให้มีลักษณะที่เหมาะสม เพื่อจัดสร้างเป็นสวน แหล่งนันทนาการ และการกีฬาของส านักงาน สวนสาธารณะ

- การให้ความรู้ด้านวิชาการเกษตรการให้การศึกษาด้านพฤกษศาสตร์

และวิชาการเกษตรแก่ส่วนราชการอื่น เยาวชน และประชาชนทั่วไป

- การก าหนดนโยบาย แนวทางด าเนินการปลูกบ ารุงรักษาต้นไม้

ให้ค าแนะน าด้านวิชาการเกษตร สนับสนุนพันธุ์ไม้ และอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ให้กับ ส านักงานเขตและหน่วยงานอื่นๆ

ตัวอย่างสวนสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบของส านักงานสวนสาธารณะ ส านักสิ่งแวดล้อม เช่น สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สวนจตุจักร อุทยานเบญจสิริ สวนสราญรมย์

สวนเสรีไทย สวนรมณีนาถ สวนสันติภาพ สวนวิชิรเบญจทัศ สวนกีฬารามอินทรา สวนรมณีย์

ทุ่งสีกัน สวนหลวง ร.9 สวนลุมพินี สวนพระนคร สวนหนองจอก สวนธนบุรีรมย์ สวนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา (ฝั่งพระนคร) สวนวนธรรม สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (บางกอกน้อย) สวนทวีวนารมย์ สวน 60 พรรษาสมเด็จ พระบรมราชินีนาถ เป็นต้น

(2) ส านักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร

- สถานะและภารกิจ ส านักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นหน่วยงาน

ระดับส านัก มีอ านาจหน้าที่ในการก าหนดนโยบายด้านการพัฒนากายภาพของเมือง การจัด ระเบียบทิศทางการพัฒนาพื้นที่เมือง ผ่านการก าหนดลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินตามกฎหมาย ว่าด้วยการผังเมือง ในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร การวางและจัดท าผังเมือง เพื่อการอนุรักษ์

ปรับปรุง ฟื้นฟู และการพัฒนาย่าน ในบริเวณที่มีคุณค่าหรือความส าคัญทางประวัติศาสตร์

การจัดท าแผนงานหรือโครงการให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเมือง ทั้งด้านกายภาพ ของเมือง เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมไปถึงพื้นที่สาธารณะสีเขียวภายในเมือง และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีส่วนราชการในส านักที่ประกอบด้วย ส านักงานเลขานุการ กองนโยบายและ แผนงาน ส านักงานภูมิสารสนเทศ ส านักงานวางผังเมือง ส านักงานพัฒนาและฟื้นฟูเมือง และ กองควบคุมผังเมือง

- บทบาทในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว ส านักการวางผังและ

พัฒนาเมือง มีส านักงานพัฒนาและฟื้นฟูเมือง เป็นส่วนงานหลักที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับ การพัฒนาพื้นที่และฟื้นฟูเมืองในมิติต่างๆ โดยครอบคลุมถึงมิติการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว จึงมีการก าหนดโครงการและการตั้งงบประมาณเพื่อปรับปรุงและฟื้นฟู รวมถึงมาตรการที่เกี่ยวข้อง ให้เกิดพื้นที่สาธารณะสีเขียวแก่เมือง โดยเป็นพื้นที่โครงการที่ไม่ใช่รูปแบบสวนสาธารณะหรือ สวนหย่อม แบบที่ส านักสิ่งแวดล้อมดูแล แต่เป็นการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวที่มีรูปแบบพื้นที่ที่

มีโครงสร้างประกอบเป็นส าคัญ ตัวอย่างเช่น โครงการปรับปรุงป้อมมหากาฬและ ก าแพงเมือง เก่า การปรับปรุงภูมิทัศน์ย่านต่างๆ หรืออย่างในโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางสัญจรบนโครงสร้าง สะพานข้ามแม่น ้าเจ้าพระยา บริเวณช่องกลางสะพานพระปกเกล้าหรือสวนลอยฟ้าเจ้าพระยา ซึ่ง เป็นหนึ่งในโครงการภายใต้ผังแม่บทเพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน-คลองสาน ในโครงการ กรุงเทพฯ 250 ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะสีเขียวระดับเมือง เป็นจุดเชื่อมต่อสองฝั่งแม่น ้า บริเวณ รอยต่อคลองรอบกรุงรัตนโกสินทร์ ตามแนวคิด “Green link - Blue link” เป็นทางเลือก ในการ สัญจรข้ามแม่น ้า พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นให้เป็นแหล่งนันทนาการและเป็นแหล่งท่องเที่ยว สามารถ ยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างเสริมสุขภาวะของเมือง (กรุงเทพมหานคร, 2564, น. 64)

(3) ส านักการโยธา กรุงเทพมหานคร

- สถานะและภารกิจ ส านักการโยธา เป็นหน่วยงานระดับส านัก มีหน้าที่

รับผิดชอบเกี่ยวกับงานโยธา งานออกแบบ งานก่อสร้างและบูรณะ งานควบคุม การก่อสร้าง งานควบคุมอาคาร งานรังวัดและที่สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร มีส่วนราชการในสังกัด ได้แก่

ส านักงานเลขานุการ กองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค กองวิเคราะห์และวิจัย ส านักงาน