• Tidak ada hasil yang ditemukan

A POLICY NETWORK ANALYSIS OF GREEN PUBLIC SPACE DEVELOPMENTIN BANGKOK

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "A POLICY NETWORK ANALYSIS OF GREEN PUBLIC SPACE DEVELOPMENTIN BANGKOK"

Copied!
122
0
0

Teks penuh

การวิเคราะห์เครือข่ายนโยบายการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะและการจัดการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เครือข่ายการวิเคราะห์นโยบายการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในกรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมองค์ประกอบเครือข่ายในส่วนของช่องว่างการดำเนินงานระหว่างการพัฒนาในรูปแบบของโครงสร้างทางสังคมแนวราบ

ที่มาและความส าคัญ

ค าถามงานวิจัย

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

ขอบเขตของการศึกษา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

นิยามศัพท์เฉพาะ

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ “การบริการสาธารณะแนวใหม่”

Denhardt และ Janet Vinzant Denhardt เป็นนักวิชาการที่เสนอแนวคิดนี้ในงานของเขาชื่อ The New Public Service: Serving Rather Than Steering ซึ่งเขามองว่า New public service กลายเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้มุมมองทางวิชาการ และในทางแก้ไข ปัญหาต่างๆ ในสังคมของประเทศได้เปลี่ยนไปจากรัฐประศาสนศาสตร์แบบเก่าที่เน้นรูปแบบการปกครองแบบเผด็จการ ประชาชนในฐานะพลเมืองหรือสามัญชน (ลูกค้า) อำนาจการตัดสินใจและการบริหารขึ้นอยู่กับความเป็นผู้นำของประชาชนราวกับว่าพวกเขาเป็นชนกลุ่มน้อยที่ต้องปฏิบัติตามทุกกรณี (Denhardt and Denhardt.

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ “เครือข่ายนโยบาย”

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ “การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน”

แนวคิดการพัฒนาชุมชนเมือง

แนวคิดการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว

การบูรณาการความร่วมมือในการวางแผนและพัฒนาเมือง

นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว และสถานการณ์ปัจจุบัน

นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว

สถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายนโยบาย

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่สาธารณะสีเขียว

งานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

กรอบแนวคิดในการศึกษา

การเก็บรวบรวมข้อมูล

แหล่งข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลส าคัญ

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

การวิเคราะห์ข้อมูล

ตัวแสดงทางนโยบายในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร

หน่วยงานที่เป็นตัวแสดงหลัก

หน่วยงานที่เป็นตัวแสดงร่วม/สนับสนุน

  • ตัวแสดงในภาครัฐ (State actors)
  • ตัวแสดงนอกภาครัฐ (Non-State actors)

สถานะและพันธกิจ We!Park Group เป็นแพลตฟอร์มกลางในการสร้างการพัฒนาพื้นที่สีเขียวอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน แพลตฟอร์มนี้เริ่มต้นจากการทำงานของบริษัทออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมอย่าง Chama และ Chama Soen จนกระทั่งพวกเขามองเห็นปัญหาของการพัฒนาที่ดิน บทบาทในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวที่ We!Park ให้บริการ

ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงในเครือข่ายนโยบายในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

ความสัมพันธ์แบบการประสานความร่วมมือ โดยมีกรุงเทพมหานครเป็นตัวแสดง

ฟิลด์นี้สามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับการดำเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการดำเนินการ เช่น สมัชชาสุขภาพ ซึ่งมีส่วนช่วยในการพัฒนาที่ถูกชี้นำ ซึ่งเจ้าหน้าที่จากกลุ่ม We!Park พูดถึงการร่วมผลักดันคดีกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กำหนดให้กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าของโครงการ พื้นที่สาธารณะสีเขียวยังได้รับการพัฒนาในรูปแบบความร่วมมือทางอ้อมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น Bangkok Design Week, City Lab, Workshop, Symposium, Pop-up Park โดยผู้มีบทบาทต่างๆ ที่เข้ามาร่วมปฏิบัติภารกิจ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่สีเขียวสาธารณะ เนื่องจากมีกลุ่มย่อยบางกลุ่มเข้าร่วมในการดำเนินการตามประเด็น (ตามประเด็น) บางส่วนนำมาแสดง ใช้งานได้เพราะอยู่ในพื้นที่ที่พัฒนาแล้ว (Area Based)

การพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวโดยตัวแสดงอื่น (เป็นอิสระ)

BAF (ปัจจัยพื้นที่ biotope) หรือพื้นที่ซึมผ่านได้คือครึ่งหนึ่งของพื้นที่ OSR BAF เป็นส่วนสำคัญในการสร้างพื้นที่สีเขียว ควบคู่ไปกับการทำ EIA (การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม) หรือการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยจะมอบพื้นที่ให้กับหน่วยงาน

สรุปผล

อภิปรายผล

เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะของ Collaboration หรือการจัดการความร่วมมือทั้งเครือข่ายของนโยบาย แต่เป็นเพียงในลักษณะที่บางคนแสดงออกว่าเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะ การประสานงานที่มารวมกันเป็นข้อตกลงร่วม เช่น ข้อตกลงการวิจัยหรือ

ข้อเสนอแนะ

104

105

การจัดการเครือข่ายในกระบวนการนโยบายสาธารณะ

เครือข่ายนโยบายวิภาษวิธีของ Marsh และ Smith (2000)

What makes a great place?

เครือข่ายนโยบายในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร บทบาทของตัวแสดงทางนโยบาย (1) บทบาทหน่วยงานตามอ านาจหน้าที่และภารกิจ เช่น บาททางด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน (Community Development) ด้านสุขภาพ (Health) และอื่นๆ (2) บทบาทในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว ในเขตกรุงเทพมหานคร. ในการประสานความร่วมมือ. Park จ านวน 1 คน เนื่องจาก เป็นหน่วยงานนอกภาครัฐที่มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวโดยตรง. การศึกษา เรื่อง การวิเคราะห์เครือข่ายนโยบายในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร จากฐานข้อมูล ออนไลน์และเว็บไซต์หน่วยงาน เช่น พระราชบัญญัติ แผนพัฒนา แผนปฏิบัติราชการ รายงาน ผลการด าเนินงานประจ าปี เอกสารเผยแพร่และบทความจากสื่อออนไลน์ต่างๆ ส าหรับ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานนอกภาครัฐ ได้แก่ ส านักสิ่งแวดล้อม และส านักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร ส านักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และกลุ่ม We!Park ซึ่งผลการศึกษาจะแบ่งตามวัตถุประสงค์. 4.1 ตัวแสดงทางนโยบายในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร 4.1.1 หน่วยงานที่เป็นตัวแสดงหลัก. สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ เป้าหมายที่ 2.2.1 กรุงเทพมหานครเป็นมหานคร ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียว เพื่อการพักผ่อนเพียงพอตามมาตรฐานสากล มีการก าหนด หน่วยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด คือ. ที่มา: https://theurbanis.com/. สถานะและภารกิจ BIGTrees Project หรือกลุ่มต้นไม้มหานคร. สาธารณะสีเขียวของกลุ่ม BIGTrees Project ในการเข้ามาร่วมกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม. สถานะและภารกิจ สมาคมรุกขกรรมไทย คือองค์กรอนุรักษ์. บทบาทในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว ตามที่สมาคม รุกขกรรมไทย มีภารกิจงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การรณรงค์และเผยแพร่ความรู้. ทัศน์, SIAM RAJATHANEE สยามราชธานี ผู้ให้บริการ Landscape Management, Tree care - บทบาทในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว การพัฒนาพื้นที่. ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อช่วยออกแบบและก าหนดพื้นที่ใช้สอย ร่วมกับเครือข่ายภาคประชาชนและสมาคมวิชาชีพอื่น ในโครงการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว ต่างๆ เช่น สวนวัดหัวล าโพงรุกขนิเวศน์ รวมถึงบทบาทในการเป็นผู้ร่วมจัดโครงการประกวดแบบ งานภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะสีเขียวอีกด้วย เช่น we!park Competition 2020: Ekkamai Pocket Park การประกวดแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมสวนป่าเอกมัย ภายใต้โครงการ we!park เพื่อกระบวนการพัฒนาต้นแบบผ่านการมีส่วนร่วม และสร้างคู่มือการออกแบบพื้นที่สาธารณะ สีเขียวขนาดเล็กที่มีคุณภาพและยั่งยืน. ภาพประกอบ 11 เว็บไซต์ City Cracker.

ตัวอย่างของกลไกการมีส่วนร่วมในวงจรของนโยบายสาธารณะ

แผนกลยุทธ์ที่น าไปประยุกต์ใช้ส าหรับการวางแผนเมืองอัจฉริยะ

รูปแบบของการท างานร่วมกันในสหสาขาวิชาการ

เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

เว็บไซต์ The Visual by Thai PBS

เว็บไซต์ We!Park - ส ารวจพื้นที่โอกาส

เว็บไซต์ The Urbanis by UDDC

สถานะและพันธกิจของโครงการ BIGtrees หรือ Metropolitan Tree Group. ประชาชนสีเขียวในกลุ่มโครงการ BIGTrees เข้าร่วมกระบวนการมีส่วนร่วม

เว็บไซต์ City Cracker

โครงการ Green Bangkok 2030

BAF (Biotope Area Factor) หรือพื้นที่ให้น ้าซึมผ่าน เป็นจ านวนครึ่งหนึ่งของ OSR โดยพื้นที่ BAF จะเป็นส่วนส าคัญ ให้เกิดเป็นพื้นที่สีเขียวได้ ควบคู่กันไปกับมาตรการ EIA (Environmental Impact Assessment) หรือการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้หน่วยงานก็จะได้พื้นที่. เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ ท าให้หน่วยงานภาคเอกชน องค์กรต่างๆ รวมถึง ประชาชนเจ้าของพื้นที่อาคาร มีการน าพื้นที่ของตนเองมาพัฒนาสาธารณะสีเขียวมากขึ้น เช่น การพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมในพื้นที่ศูนย์การค้า อาคารส านักงาน คอนโดมิเนียม เป็นต้น โดยอาจจะด าเนินการพัฒนาพื้นเอง หรือมีหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญด้านการ พัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเมืองหรือหน่วยงานภาคีเข้ามาร่วมพัฒนาเป็นโครงการ. กลุ่ม we!park ทีมงาน art4d VaSLab ARCHITECTURE Hypothesis กลุ่มปั้นเมือง ดีไซเนอร์. สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานครโดยรวม. สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ. จากการทบทวนวรรณกรรม และเสนอแนะแนวทางการประสานงานเครือข่ายนโยบายดังนี้. 5.1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงในเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่สาธารณะ สีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร. เครือข่ายนโยบายที่เข้ามาร่วมพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร มีรูปแบบความสัมพันธ์ในแบบที่เป็นลักษณะของการประสานความร่วมมือโดยมีกรุงเทพมหานคร เป็นตัวแสดงหลัก โดยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร จากการ บูรณาการการด าเนินงานด้วยกันเอง และความสัมพันธ์ระหว่างกรุงเทพมหานครกับหน่วยงาน เจ้าของพื้นที่ ซึ่งกรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานฝ่ายรุกผู้ประสานไปกับหน่วยงานอื่นเพื่อยืมพื้นที่. เข้ามาแลกเปลี่ยนความเห็น เพื่อสรุปหาแนวทางความเป็นไปได้ของทิศทางการพัฒนาพื้นที่. ดังกล่าวให้มีมากขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร และแบบที่เป็นการสนับสนุนงบประมาณ โดยมี. ความสัมพันธ์อีกแบบคือ ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นโดยอิสระจากกรุงเทพมหานคร โดยมาจากการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวโดยเจ้าของพื้นที่ซึ่งเป็นเอกชนหรือปัจเจก จากข้อบังคับทางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาพื้นที่จากการท า CSR ซึ่งอาจมี. ภาพสรุปของลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงในเครือข่ายนโยบายการพัฒนา พื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร จึงเป็นไปในลักษณะดังภาพประกอบนี้. อย่างมาตรฐานการเข้าถึงพื้นที่สาธารณะสีเขียวจากองค์การอนามัยโลก การพัฒนาอย่างยั่งยืน จากสหประชาชาติ เมื่อลงมาในระดับพื้นที่ คือกรุงเทพมหานครนโยบายรวมของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีเป้าหมายเรื่องของมหานครสีเขียวเป็นหนึ่งในทิศทางการพัฒนาเมือง ก็ได้ให้ความส าคัญกับ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นอย่างมาก เช่น การพัฒนาพื้นที่ย่าน หรือการสร้างพื้นที่. อาศัยซึ่งกันและกัน โดยมีเป้าหมายที่เชื่อมโยงกันด้วยประเด็นพื้นที่สีเขียว พื้นที่สาธารณะ การพัฒนาเมือง การส่งเสริมสุขภาพ และชีวิตความเป็นอยู่ สอดคล้องกับแนวคิดเครือข่ายนโยบาย. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างทางของการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวที่ผ่านมา ที่เป็นผลมาจากข้อจ ากัดตามอ านาจหน้าที่และปัจจัยบางประการภายในหน่วยงานผู้รับผิดชอบ. จากการสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐอื่นที่ไม่ใช่กรุงเทพมหานครเป็นผู้เสนอเรื่องเข้ามา โดยบทบาทของตัวแสดงต่างๆ ที่เข้ามาร่วมพัฒนา ไม่ใช่เพียงการมีบทบาทในการพัฒนาพื้นที่. จัดตั้งคณะท างานอย่างเป็นทางการภายใต้โครงการ Green Bangkok 2030 เพื่อชักชวนภาคี. เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะของ Collaboration หรือการบริหารจัดการแบบร่วมมือกัน ทั้งเครือข่ายนโยบาย แต่เป็นเพียงในลักษณะที่บางตัวแสดงก็เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะ Co-ordination ซึ่งมาร่วมมือกันภายใต้การท าข้อตกลงร่วม เช่น ข้อตกลงในการท างานวิจัยหรือ. ข้อตกลงในการใช้พื้นที่/ดูแลพื้นที่ ในขณะที่บางตัวแสดงก็เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะ Co-operation ที่มาสนับสนุนงานและให้ความช่วยเหลือภายใต้ขอบเขตงานของตนเอง เช่น การให้. งบประมาณเพื่อท ากระบวนการมีส่วนร่วม หรือทรัพยากรบุคคลที่มาร่วมออกแบบ. แต่หากมองกระบวนการบริหารจัดการเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียว จากตัวแสดงนอกภาครัฐที่พัฒนาพื้นเอง ก็มีลักษณะคล้ายกัน ที่จะประกอบด้วยตัวแสดงที่. จะเป็นไปเพื่อประโยชน์ของสาธารณะเช่นกัน. สาธารณะสีเขียวอยู่แล้ว เพราะหน่วยงานภาครัฐเอง ที่ไม่อาจสามารถขับเคลื่อนงานไปได้. 2) แพลตฟอร์มกลางที่มาเชื่อมทรัพยากรและสานต่อความสัมพันธ์. ระหว่างตัวแสดงในเครือข่าย: ควรมีแพลตฟอร์มที่จะมาเชื่อมต่อแต่ละตัวแสดงในแต่ละระดับ เพราะจากการขับเคลื่อนงานที่ผ่านมา ท าให้เห็นว่าการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวประกอบขึ้น จากหน่วยงานที่หลากหลาย ซึ่งเป็นการด าเนินงานภายใต้ขอบเขตภารกิจของตัวเอง โดยเข้ามามี. แยกกัน อาจช่วยให้เกิดการวิเคราะห์พื้นที่จากผู้เชี่ยวชาญที่มาร่วมมือกันภายใต้แพลตฟอร์มนี้. รกร้างว่างเปล่าที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ การมีหน่วยงานที่อยากเข้ามาร่วมด าเนินในส่วนต่างๆ เพื่อไม่ให้เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะทางเดียว แต่เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์โดยไม่ได้อยู่ภายใต้. 3) การสนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนของเครือข่ายนโยบาย: ควรมีการปรับ กลไกการเชื่อมโยงให้เกิดการสร้างสภาพแวดล้อมการท างานเป็นไปในแบบ Ecosystem ภายใต้. สืบค้นจาก https://www.bigtreesthai.com/th/about- bigtrees/what-we-do.html.

Referensi

Dokumen terkait

Institutional Bulletin Extension of Submission of the Manual Revision Return Forms November 20, 2018 Please be advised that the deadline for the submission of all proposed amendments