• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวคิดในการพัฒนาโปแกรมในการวิจัย

บทที่ 2

ภาพประกอบ 3 วิธีการด าเนินการวิจัย

2) แนวคิดในการพัฒนาโปแกรมในการวิจัย

จากภาพประกอบ 7 การจัดการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความหลากหลายที่ใช้ใน โปรแกรมฯ สรุปได้ว่า การสร้างโปรแกรมฯ ผู้วิจัยจะค านึงถึงการจัดเตรียมในการเรียนการสอน โดย ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเนื้อหาที่ใช้ในการสอน คือการแบ่งระดับค าศัพท์ที่ประสมด้วยสระ ลดรูป สระเปลี่ยนรูปที่ได้จากบัญชีค าศัพท์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และหนังสือแบบเรียนวิชา ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) โดยมีการแบ่ง ระดับค าศัพท์เป็น 3 ระดับ คือ ระดับง่าย ระดับปานกลาง และระดับยาก วิเคราะห์กิจกรรมที่

น ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กิจกรรมการวาดภาพระบายสี การร้อง/ฟังเพลง การท า กิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนในชั้นเรียน เพื่อฝึกฝนและพัฒนาความสามารถในการ อ่านและเขียนค าที่ประสมด้วยสระลดรูป สระเปลี่ยนรูป และวิเคราะห์แบบฝึกหัด ภาระงานต่าง ๆ ที่จะมอบหมายให้นักเรียนปฏิบัติ โดยแบ่งแบบฝึกหัดเป็นกิจกรรมย่อย ๆ เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการ เรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน และประสบผลส าเร็จในการเรียนจากเนื้อหาง่ายไปสู่เนื้อหาที่มีความ ซับซ้อนยิ่งขึ้นตามล าดับ ในด้านความแตกต่างหลากหลายของนักเรียนจะด าเนินการสร้าง โปรแกรมโดยพิจารณาในด้านความพร้อมของนักเรียน ได้แก่ ความรู้พื้นฐานทางภาษาไทยของ นักเรียนตั้งแต่ความรู้เรื่องของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ความรู้และความสามารถในการอ่าน เขียนค า และด้านความหมายของค าศัพท์ ด้านความสนใจของนักเรียน ได้แก่ การวาดรูประบายสี

การร้อง/ฟังเพลง การท ากิจกรรมกลุ่ม และการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน ด้านรูปแบบการเรียนรู้ ซึ่ง ผู้วิจัยด าเนินการประเมินและแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ตามระดับสติปัญญา คือ นักเรียนกลุ่ม เก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน

และครูผู้สอน โดยผู้วิจัยได้ส ารวจข้อมูลจากแบบสอบถามความหลากหลายที่ส่งต่อการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยของนักเรียนก่อนเข้าร่วมโปรแกรม ซึ่งนักเรียนจะต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง ให้เข้าร่วมโปรแกรมได้ และสามารถเข้าร่วมการวิจัยได้ต่อเนื่องจนสิ้นสุดโปรแกรม

3. คุณสมบัติของผู้สอน คือ ครูที่ได้รับมอบหมายในการสอนวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

4. กระบวนการเรียนการสอนที่ใช้ในโปรแกรม ผู้วิจัยได้เลือกใช้รูปแบบการ สอน 3 รูปแบบ คือ การสอนตรง การเสริมต่อการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งเป็นรูปแบบการ สอนที่มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความ หลากหลาย ดังตาราง

ตาราง 9 รูปแบบการสอนที่สอดคล้องกับแนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความ หลากหลาย

การสอนที่ตอบสนองต่อความหลากหลาย การสอน ตรง

การเสริมต่อ การเรียนรู้

การเรียนรู้

แบบร่วมมือ

การวิเคราะห์/ประเมินผู้เรียนก่อนสอน / /

เลือกสอนสาระส าคัญ /

การล าดับเนื้อหาจากง่ายไปสู่ยาก และแบ่งเนื้อหาเป็น ส่วนย่อย ๆ

/ /

ให้นักเรียนทราบความชัดเจนในการเรียนอย่างเป็นขั้นตอน / /

ทบทวนความรู้หรือประสบการณ์เดิม / / /

มีกิจกรรมหลากหลายให้เหมาะกับผู้เรียน / /

ให้นักเรียนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการเรียน /

ครูเป็นผู้สนับสนุนในการเรียนรู้ของนักเรียนและให้ผล ป้อนกลับ

/ /

ส่งเสริมการท างานเป็นกลุ่มอย่างยืดหยุ่นตามลักษณะผู้เรียน / / ให้ครูหรือเพื่อนที่มีความรู้มากกว่าเป็นต้นแบบหรือสอน / / ประเมินติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักเรียน / /

จากตาราง 9 การวิเคราะห์รูปแบบการสอนตรง การเสริมต่อการเรียนรู้ และการเรียนรู้

แบบร่วมมือ พบว่ามีความสอดคล้องเหมาะสมกับการน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่

ตอบสนองต่อความหลากหลายในชั้นเรียน เนื่องจากเป็นรูปแบบการสอนที่มีการวิเคราะห์ ประเมิน

ผู้เรียนก่อนสอน พิจารณาล าดับเนื้อหาสาระให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน มีการ ด าเนินการอย่างเป็นขั้นตอน โดยเลือกใช้กิจกรรมที่หลากหลาย ยืดหยุ่น โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุน การเรียนรู้และประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน ซึ่งโปรแกรมฯ จะมีกระบวนการเรียนการสอนใน แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ด าเนินการสอนด้วยรูปแบบการสอนตรงกับนักเรียนทั้งชั้น เรียน เพื่อเป็นการให้นักเรียนทั้งชั้นเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระ และทบทวนความรู้ของนักเรียนที่มี

ความรู้พื้นฐาน จากการสอนที่มีความต่อเนื่องตามล าดับ มีการฝึกปฏิบัติทักษะการอ่านและการ เขียนค าศัพท์ที่ประสมด้วยสระลดรูป สระเปลี่ยนรูป จนสามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง ซึ่ง ครูผู้สอนจะเป็นผู้สอนเนื้อหาโดยตรงและให้ผลป้อนกลับในการปฏิบัติทักษะการอ่าน เขียนของ นักเรียนทันทีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ด าเนินการสอนด้วยรูปแบบการสอนตรง และการเสริมต่อ การเรียนรู้ โดยการสอนตรงในขั้นต้นเพื่อเป็นการทบทวนให้ความรู้กับนักเรียนทั้งชั้นเรียน และสอน เน้นย ้าให้กับกลุ่มที่มีความสามารถน้อยกว่าเกณฑ์หรือนักเรียนที่ยังอ่าน เขียนได้ไม่ถูกต้อง และใช้

การเสริมต่อการเรียนรู้กับนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่าน เขียนได้ถูกต้อง เพื่อให้นักเรียนได้

ฝึกฝนทักษะจากการท าแบบฝึกหัดด้วยตนเอง โดยครูมีหน้าที่ในการช่วยสนับสนุน ตรวจทานการ ท าแบบฝึกหัดด้านการอ่าน และเขียนของนักเรียน รวมทั้งให้ผลป้อนกลับแก่นักเรียนจนสามารถ เรียนรู้และท างานได้ด้วยตนเอง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ด าเนินการสอนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งจะ เป็นการสอนที่ใช้กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ร่วมมือท ากิจกรรมการฝึกอ่าน เขียน และการเรียนรู้เรื่อง ความหมายของค า โดยแต่ละกลุ่มจะคละระดับความสามารถของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิด การเรียนรู้ผ่านกระบวนการท ากิจกรรมต่าง ๆ ได้ช่วยเหลือในการฝึกการอ่าน เขียนร่วมกัน ซึ่งช่วย ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้การมีปฏิสัมพันธ์และฝึกทักษะทางสังคมเพิ่มเติมนอกเหนือจาก ความส าเร็จที่ได้จากการอ่าน เขียนในชั้นเรียน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ด าเนินการสอนด้วยรูปแบบการสอนตรง การเสริมต่อการ เรียนรู้ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในแผนที่ 4 ของทุกสระ จะ เป็นการทบทวนความรู้ของนักเรียนด้วยกระบวนการสอนตรง เพื่อตรวจสอบและเน้นย ้าวิธีการอ่าน เขียนค าที่ประสมด้วยสระลดรูป สระเปลี่ยนรูปให้ถูกต้อง ใช้การสอนตรงโดยการมอบหมาย แบบฝึกหัดให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองซึ่งครูจะเป็นผู้ให้ผลป้อนกลับนักเรียน และ มอบหมายแบบฝึกหัดกลุ่มเพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติท างานร่วมกันในการอ่าน เขียน และ

เลือกใช้ค าศัพท์ในประโยคที่ก าหนดให้เหมาะสม ก่อนที่จะด าเนินการประเมินความรู้ด้านการอ่าน เขียนค าศัพท์หลังเรียน

5. เนื้อหาสาระ คือ เรื่องสระลดรูป เปลี่ยนรูป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่

1 จ านวน 6 สระ ได้แก่ สระอัว สระอะ สระเอะ สระแอะ สระโอะ และสระเออ โดยเลือกใช้ค าศัพท์

ในการสอนแต่ละแผนการเรียนแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ

ค าศัพท์กลุ่มง่าย คือ ค าศัพท์ที่ประสมด้วยสระลดรูป สระเปลี่ยนรูปที่

ไม่มีตัวสะกด มีพยัญชนะต้น 1 ตัว ไม่มีวรรณยุกต์ ได้แก่ วัว กะ เตะ แพะ โปะ เจอ

ค าศัพท์กลุ่มปานกลาง คือ ค าศัพท์ที่ประสมด้วยสระลดรูป สระ เปลี่ยนรูปที่ไม่มีหรือมีตัวสะกด มีพยัญชนะต้น 1-2 ตัว ไม่มีวรรณยุกต์ ค าศัพท์ที่เป็นรูปธรรมหรือ ค าศัพท์ที่เป็นนามธรรมที่เป็นค าศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน ได้แก่ ถั่ว ขัน เด็ก และ โต๊ะ เผอเรอ

ค าศัพท์กลุ่มยาก คือ ค าศัพท์ที่ประสมด้วยสระลดรูป สระเปลี่ยนรูปที่

มีตัวสะกด มีพยัญชนะต้น 1-2 ตัว มีวรรณยุกต์ ค าศัพท์ที่เป็นรูปธรรมหรือค าศัพท์ที่เป็นนามธรรม ได้แก่ ล้วน ปั้น เหล็ก แข็งแรง ล้น เพลิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้ของโปรแกรม แบ่งเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย

ระยะที่ 1 ระยะก่อนได้รับโปรแกรม ระยะนี้ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากการ ตอบแบบสอบถามความหลากหลายที่ส่งผลต่อการเรียนรู้วิชาภาษาไทยของนักเรียน จ านวน 1 ฉบับ และทดสอบความรู้เรื่องสระลดรูป เปลี่ยนรูปของผู้เรียนก่อนเข้าร่วมโปรแกรม ด้วย แบบทดสอบ จ านวน 1 ฉบับ เพื่อทดสอบด้านการอ่าน จ านวน 20 ค า และการเขียนค าที่ประสม ด้วยสระลดรูป สระเปลี่ยนรูป จ านวน 20 ค า รวมทั้งสิ้น 40 ค า เพื่อวัดระดับความสามารถของ นักเรียนก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ โดยน าข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามและผลคะแนนจากทดสอบมา วางแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องต่อความหลากหลายของนักเรียนแต่ละคน

ระยะที่ 2 ได้รับโปรแกรม ในระยะนี้นักเรียนจะได้รับการจัดการเรียนการ สอนวิชาภาษาไทยตามแนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความหลากหลาย เรื่องสระ ลดรูป เปลี่ยนรูป ที่เรียงล าดับความยากง่ายของเนื้อหาตามหลักสูตรภาษาไทย ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบความสามารถทางภาษาไทยก่อน เข้าสู่บทเรียนแต่ละสระ จ านวน 6 ฉบับ ซึ่งแต่ละฉบับแบ่งเป็นการทดสอบด้านการอ่าน และการ เขียนค าศัพท์ โดยการทดสอบการอ่านด้วยค าศัพท์ จ านวน 54 ค า แบ่งออกเป็น สระอัว 10 ค า สระอะ 10 ค า สระเอะ 10 ค า สระแอะ 8 ค า สระโอะ 10 ค า สระเออ 6 ค า และการเขียนค าศัพท์

รวมจ านวน 54 ค า แบ่งออกเป็น สระอัว 10 ค า สระอะ 10 ค า สระเอะ 10 ค า สระแอะ 8 ค า