• Tidak ada hasil yang ditemukan

กรณีศึกษาภาพยนตร เรื่อง "หมานคร - าง - มหาวิทยาลัยศิลปากร

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "กรณีศึกษาภาพยนตร เรื่อง "หมานคร - าง - มหาวิทยาลัยศิลปากร"

Copied!
162
0
0

Teks penuh

(1)

จากนวนิยายสูภาพยนตร จากภาพยนตรสูนวนิยาย : กรณีศึกษาภาพยนตรเรื่อง "หมานคร"

และ "ฟาทะลายโจร"

โดย

นายศิววิช หงษจินดาเกศ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป

ภาควิชาทฤษฎีศิลป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำหอส มุ ดกล

(2)

และ "ฟาทะลายโจร"

โดย

นายศิววิช หงษจินดาเกศ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป

ภาควิชาทฤษฎีศิลป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำหอส มุ ดกล

(3)

AND "TEARS OF THE BLACK TIGER"

By

Mr. Sivich Hongjindakes

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Fine Arts Program in Art Theory

Department of Art Theory Graduate School, Silpakorn University

Academic Year 2013

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำหอส มุ ดกล

(4)

ภาพยนตร จากภาพยนตรสูนวนิยาย : กรณีศึกษาภาพยนตรเรื่อง "หมานคร" และ "ฟาทะลายโจร"”

เสนอโดย นายศิววิช หงษจินดาเกศ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป

……...

(รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที่...เดือน... พ.ศ...

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

รองศาสตราจารย ดร.กฤษณา หงษอุเทน คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

... ประธานกรรมการ (อาจารยมาณพ อิศรเดช)

.../.../...

... กรรมการ (นายวิศิษฏ ศาสนเที่ยง)

.../.../...

... กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.กฤษณา หงษอุเทน) .../.../...

สำหอส มุ ดกล

(5)

คําสําคัญ: ฟาทะลายโจร / หมานคร / จากภาพยนตรสูนวนิยาย / จากนวนิยายสูภาพยนตร

ศิววิช หงษจินดาเกศ: จากนวนิยายสูภาพยนตร จากภาพยนตรสูนวนิยาย: กรณีศึกษา ภาพยนตรเรื่อง "หมานคร" และ "ฟาทะลายโจร". อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ: รศ.ดร.กฤษณา หงษอุเทน. 151 หนา.

ภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร” (Tears of the Black Tiger) (พ.ศ.2543) และ “หมา นคร” (Citizen Dog) (พ.ศ.2547) เปนภาพยนตรที่สรางขึ้นในชวงหลังยุควิกฤตทางเศรษฐกิจป พ.ศ.

2540 และมีรูปแบบ เนื้อหา การนําเสนอที่ชัดเจนและแปลกไปกวาภาพยนตรเรื่องอื่นในยุคกอนและ ภาพยนตรรวมยุคเดียวกัน ไมเพียงเทานั้น ที่นาสนใจคือภาพยนตรเรื่อง “หมานคร” สรางมาจากบท ประพันธ ในขณะที่ “ฟาทะลายโจร” ถูกเขียนเปนบทภาพยนตรมาตั้งแตตน และในเวลาตอมาไดถูก นําไปเขียนเปนนวนิยาย โดยนักประพันธผูเขียนนวนิยายเรื่องหมานคร

ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้เปนผลงานที่สรางจากผูกํากับคนเดียวกัน คือ วิศิษฏ ศาสนเที่ยง และผูแตงนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ก็มาจากบุคคลเดียวกันเชนกัน คือ ศิริพรรณ เตชจินดาวงศ ภาพยนตร

ทั้งสองเรื่องนี้มีความคลายคลึงกันในหลายแงมุม ทั้งการใชเทคนิคการปรับแตงสีสันใหฉูดฉาดจัดจาน เกินจริงในแบบฉากละครหรือลิเก หรือการสะทอนภาพความประทับใจจากภาพยนตรไทยหลายเรื่อง ในอดีต ในดานเนื้อหา “หมานคร” เปนภาพยนตรที่มีเนื้อหาในเชิงวิพากษวิจารณสังคมปจจุบันใน ลักษณะสอเสียดและขบขัน แต “ฟาทะลายโจร” สะทอนความประทับใจในรูปแบบการสราง ภาพยนตรไทยในอดีตของผูกํากับ ซึ่งความประทับใจนี้สงผานไปถึงผูประพันธนวนิยายเรื่องนี้ดวย เชนกัน ความโดดเดนในการออกแบบภาพ ฉาก การแสดง การนําเสนอเนื้อหาในประเด็นที่แตกตางกัน ของสังคมไทยในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งรูปแบบการสรางภาพยนตรที่เปนเอกลักษณของผูกํากับของ ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้ นําไปสูความสนใจในการศึกษาความเชื่อมโยงระหวางภาพยนตรและนว นิยายทั้งสองเรื่องนี้ ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงเลือกศึกษาวิเคราะหการแปลงบทนวนิยายไปสูภาพยนตรจาก เรื่อง “หมานคร” และจากบทภาพยนตรไปสูนวนิยายใน “ฟาทะลายโจร” เพื่อชี้ใหเห็นประเด็นสําคัญ ของความแตกตางระหวางสื่อภาพยนตรและนวนิยาย รวมถึงอิทธิพลของผูกํากับภาพยนตรและผู

แตงนวนิยายวาสงผลอยางไรบางตอการสรางสรรคผลงาน

ภาควิชาทฤษฎีศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา ... ปการศึกษา 2556 ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ...

สำหอส มุ ดกล

(6)

KEY WORD: TEARS OF THE BLACK TIGER / CITIZEN DOG / FROM FILM TO NOVEL / FROM NOVEL TO FILM

SIVICH HONGJINDAKES: FROM NOVEL TO FILM - FROM FILM TO NOVEL:

LOOK IN "CITIZEN DOG" AND "TEARS OF THE BLACK TIGER". THESIS ADVISOR:

ASSOC.PROF.KRISANA HOUNGUTAIN,Ph.D. 151 pp.

Tears of the Black Tiger (2000) and Citizen Dog (2004), Both films was created after the economic crisis in 1997. The films have style, content, presentation and stranger than the earlier film and in the same era. Of interest is the movie "Citizen Dog" made up from novel, while "Tears of the Black Tiger" was originally written as a screenplay. And later was brought in to write a novel.

By the author who wrote the novel "Citizen Dog".

Both films are created by the same director Wisit Sasanatieng, and author of two novels, this story came from the same person, Siripun Taechachiadawong. In addition, both films are similar in many aspects. Both in terms of tuning techniques colors similars to Thai traditional dramatic performance. Or a visual impression of many Thai films in the past. In terms of content,

"Citizen Dog" is a movie with the content of critical current society in a sneaky and comedy, but

"Tears of the Black Tiger" refers to impress in old style of Thai movies from director. This impression, which is passed to the author of the novel as well. Prominent in visual design, production design, acting and presentation in different aspects of social Thailand in the past and present of both films. Including the creation of a unique film director . Led to an interest in studying the links between film and novel. For this reason I chose to study media conversion between novels to films from "Citizen Dog" and the screenplay into a novel from " Tears of the Black Tiger ", to point out the key points of difference between films and novels. Including the influence of film director and author of the novel as a result of how the creative process.

Department of Art Theory Graduate School, Silpakorn University Student's signature ... Academic Year 2013 Thesis Advisor's signature ...

สำหอส มุ ดกล

(7)

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เพราะไดรับความอนุเคราะหจากหลายทาน ตอง ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.กฤษณา หงษอุเทน อาจารยที่ปรึกษาซึ่งกรุณาใหคําแนะนําที่เปน ประโยชนอยางยิ่ง รวมไปถึงการใหความชวยเหลือ เคี่ยวเข็ญ และตรวจแกไขใหวิทยานิพนธฉบับนี้มี

ความสมบูรณมากที่สุด ขอขอบพระคุณอาจารยมาณพ อิศรเดช ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ คุณ วิศิษฏ ศาสนเที่ยง และ คุณศิริพรรณ เตชจินดาวงศ ผูกํากับภาพยนตรและผูแตงนวนิยายเรื่อง “ฟาทะลาย โจร” และ “หมานคร” สําหรับคําแนะนําและขอคิดเห็นที่เปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับวิทยานิพนธฉบับ นี้ ตลอดจนการใหความรวมมือดานขอมูลและการสัมภาษณเปนอยางดี

ขอขอบพระคุณอาจารยทุกทานในภาควิชาทฤษฏีศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและ ภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหความรู ความเมตตา และสั่งสอนประสบการณอันมีคายิ่ง ขอบพระคุณผูสรางภาพยนตรทุกเรื่อง เจาของหนังสือ วารสาร บทความ เอกสารทางวิชาการ เว็บไซต

และวิทยานิพนธทุกเลม ที่เปนแหลงคนควา จนทําใหขอมูลในวิทยานิพนธฉบับนี้สมบูรณ

ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และพี่ชาย ที่เปนกําลังใจ และใหความชวยเหลือตลอดมา อาจารยหลายทานที่เคยอบรมสั่งสอนและแนะนําความรูอันมีคา และขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ ที่ศึกษา รวมกันที่ภาควิชาทฤษฏีศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร สําหรับ ความชวยเหลือเปนอยางดีตลอดมาตั้งแตเริ่มศึกษาจนกระทั่งทําวิทยานิพนธ

สุดทายนี้ขอขอบคุณภาพยนตรคุณภาพทุกเรื่องสําหรับแรงบันดาลใจที่ดีเสมอ

สำหอส มุ ดกล

(8)

หนา บทคัดยอภาษาไทย ... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ... จ กิตติกรรมประกาศ ... ฉ สารบัญภาพ ... ฌ บทที่

1 บทนํา ... 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ... 1

วัตถุประสงคของการศึกษา ... 3

สมมติฐานของการศึกษา ... 3

ขอบเขตการศึกษา ... 4

ขั้นตอนของการศึกษา ... 4

วิธีการศึกษา ... 5

แหลงขอมูล ... 5

2 ประวัติศาสตรและพัฒนาการอุตสาหกรรมภาพยนตรไทย ... 7

ประวัติศาสตรและพัฒนาการทางเทคโนโลยีภาพยนตร ... 9

ยุคเริ่มตนภาพยนตรในประเทศไทย : ภาพยนตรเงียบ ฟลม 35 มม. ขาว-ดํา ... 16

การเขามาของภาพยนตรจากตางประเทศ และการเริ่มถายทําภาพยนตร เชิงสารคดีในไทย ... 16

ภาพยนตรเรื่อง “นางสาวสุวรรณ” และการสรางภาพยนตรบันเทิง ในประเทศไทยยุคแรก ... 21

ยุคภาพยนตรเสียง และภาพยนตรไทยพากย พ.ศ. 2470 – พ.ศ. 2585 ... 24

ยุคเริ่มตนภาพยนตรเสียง ฟลม 35 มม. ขาว-ดํา ของไทย ... 24

ยุคเริ่มตนภาพยนตรไทยพากย ... 29

ภาพยนตรไทยยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2515 ... 31

สำหอส มุ ดกล

(9)

ภาพยนตรไทยพากย 16 มม. สีธรรมชาติ ยุคฟนตัว พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2500 ... 31

ภาพยนตรไทยมาตรฐานฟลม 35 มม. เสียงในฟลม ... 31

ภาพยนตรไทยพากย 16 มม. สีธรรมชาติ ยุคเฟองฟู พ.ศ. 2500 - 2515 ... 32

จุดเปลี่ยนวงการภาพยนตรไทย พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2515 ... 34

ยุคใหมของภาพยนตรไทย พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2529 ... 36

ภาพยนตรที่นําเสนอประเด็นทางเพศ หรือ “หนังโป” พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2518... 36

กลุมคลื่นลูกใหม : ภาพยนตรสะทอนสังคม พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2529 ... 38

ภาพยนตรไทยยุคอุตสาหกรรมเติบโต พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2539 ... 40

ภาพยนตรไทยยุคหลังเศรษฐกิจตกต่ํา พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2549... 43

3 ภาพยนตรกับนวนิยาย ... 50

การนําวรรณกรรมมาสรางเปนภาพยนตรของไทย ... 53

นวนิยาย ... 56

ภาพยนตร ... 59

จากนวนิยายสูภาพยนตร ... 66

4 “หมานคร” กับการแปลงสื่อจากนวนิยายสูภาพยนตร ... 76

นวนิยายเรื่อง “หมานคร” ... 76

กลวิธีการประพันธของนวนิยาย ... 79

จากนวนิยายสูภาพยนตรของ “หมานคร” ... 86

5 “ฟาทะลายโจร” กับการแปลงสื่อจากภาพยนตรสูนวนิยาย ... 108

ภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร”... 108

การนําเสนอภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร” ... 112

จากภาพยนตรสูนวนิยายเรื่อง “ฟาทะลายโจร” ... 128

6 บทสรุป “หมานคร” การแปลงสื่อจากนวนิยายสูภาพยนตร และ “ฟาทะลายโจร” การแปลงสื่อจากภาพยนตรสูนวนิยาย ... 137

รายการอางอิง ... 147

ประวัติผูวิจัย ... 151

สำหอส มุ ดกล

(10)

ภาพที่ หนา

1 ภาพในโรงงานปลากระปองที่มีปายคําเตือนระวังนิ้ว ... 92

2 การใชภาพเพื่อชวยบอกความรูสึกของปอดที่เห็นจินดูสวยในชุดสีฟา ... 92

3 ภาพการจัดฉากคลายฉากลิเกตอนที่กลาวถึงละครวิทยุ... 93

4 สีที่เขมขนชวยสรางความกลมกลืนของความเหนือจริงในฉากฝนตกเปนหมวกกันน็อก ... 93

5 ภาพการนําภาพโฆษณาเกาๆ มาประกอบในฉาก ... 94

6 ภาพเลียนใบปดภาพยนตรเกาบนผนังหองเชาของปอด ... 94

7 ฉากบานนอกของปอดที่มีลักษณะแบนๆ คลายกับฉากลิเก ... 95

8 ฉากเลาประวัติของหมวยที่มีภาพดานหลังเปนเหมือนฉากที่เขียนขึ้น ... 95

9 การขึ้นตัวอักษรเกริ่นนําตัวละครนองแหมม ... 96

10 การปรับสีของภาพยนตรในกระบวนการ Post-production ... 98

11 การใชเทคนิค composition ของภาพยนตรในกระบวนการ Post-production ... 100

12 การใชเทคนิค CGI Compositing ของภาพยนตรในกระบวนการ Post-production ... 102

13 การวางทายิงปนตามแบบภาพยนตรไทยยุค 16 มม. ของ “เสือฝาย” ... 114

14 การวางทายิงปนเลียนแบบภาพยนตรไทยยุค 16 มม. ของ “เสือดํา” ... 115

15 การวางทายิงปนของไชยา สุริยัน จากโปสเตอรภาพยนตรเรื่องเรือนแพ (พ.ศ. 2504) ... 115

16 ภาพแสดงการตกแตงสีของฉากตามความตองการของผูกํากับ ... 116

17 ภาพแสดงความสวยงามของ “ศาลารอนาง” และการสรางบรรยากาศที่สอดคลองกับ อารมณตัวละคร ... 117

18 ภาพแสดงการสรางฉากดวยการเขียนเปนรูปดังเชนการละเลนลิเก ... 118

19 ภาพแสดงเครื่องแตงกายของกลุมโจรของภาพยนตรแตละเรื่อง อันไดแก ฟาทะลายโจร (พ.ศ. 2543) จอมโจรมเหศวร (พ.ศ. 2513) และ เสือใบ (พ.ศ. 2527) ... 120

20 การใชมุมกลองเสยแทนสายตากําจรเพื่อสื่อความหมายถึงการพายแพตอเสือฝาย ... 121

21 การใชมุมกลองกดแทนสายตาเสือดําเพื่อสื่อความหมายถึงการมีอํานาจเหนืออีกฝาย ... 122

22 การปรับสีใหเปนสีน้ําตาลซีดในเหตุการณที่แสดงอดีตในวัยเด็กของดําและรําเพย ... 123

23 การขึ้นขอความซอนบนภาพเพื่อบอกเวลาของเหตุการณใหผูชมไดทราบ ... 124

24 การซอนภาพขอความเหมือนเชนการเกริ่นนําบทในนวนิยาย ... 125

สำหอส มุ ดกล

(11)

25 การแสดงภาพขอความเพื่อสรางความขบขันแกผูชม... 125 26 ภาพระยะใกลของลูกกระสุนปนวิ่งทะลุรูของเหรียญสตางค ... 126 27 ภาพแสดงการแทรกภาพสมองเขามาสั้นๆ เพื่อชวยเลาเรื่อง ... 126

สำหอส มุ ดกล

(12)

1

บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ภาพยนตรเปนผลพวงจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีของมนุษย ซึ่งไดพัฒนารูปแบบใน การนําเสนอควบคูกับพัฒนาการของสภาวะสังคมสมัยใหม (Modernist) มาโดยตลอด ซึ่งจะเห็นได

อยางชัดเจนจากการเติบโตของอุตสาหกรรมภาพยนตรที่ทําใหเกิดบริษัทสรางภาพยนตรยักษใหญ

มากมายหลายบริษัทและมีการไหลเวียนของผูคนและจํานวนเม็ดเงินอันมหาศาล นับตั้งแต

ภาพยนตรเริ่มกอตัวเปนรูปเปนรางขึ้นในชวงปลายคริสต-ศตวรรษที่ 19 ภาพยนตรก็ไดพัฒนาขึ้น เรื่อยมาจนกระทั่งกลายเปนสื่อที่มีพลังยิ่งใหญที่สุดประเภทหนึ่งในคริสตศตวรรษที่ 20 มาจนถึง ปจจุบัน

อิทธิพลของภาพยนตรในฐานะที่เปนศิลปะแขนงหนึ่ง ซึ่งมีบทบาทและทวีความสําคัญ มากขึ้น เพราะการเปน “ศิลปะมวลชน” ทําใหภาพยนตรเขาถึงตัวผูชมและขยายไปยังสังคมอื่นๆ ได

อยางรวดเร็วโดยไมมีเสนแบงดานชนชาติและภาษา ภาพยนตรไดกอตัวเปนอุตสาหกรรมที่ขยายตัว เติบโตและมีบทบาทมากขึ้น จนกลายเปนสินคาสงออกที่สําคัญของหลายประเทศ และเนื่องจากการ ที่เนื้อหาของภาพยนตรไดแฝงซึ่งแนวคิดของผูคนและวัฒนธรรมของชาติ จึงอาจกลาวไดวา ภาพยนตรที่สรางโดยชนชาติใดชนชาติหนึ่ง สามารถสะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรมของชาตินั้นได

เปนอยางดี

ภาพยนตรที่สรางในประเทศไทยก็เชนเดียวกับในตางประเทศที่สวนใหญมักมาจากนว นิยายที่ประสบความสําเร็จในวงการวรรณกรรม ดังนั้นวงการภาพยนตรกับวงการวรรณกรรมจึง ใกลชิดและอยูเคียงคูกัน ภาพยนตรไทยที่ประสบความสําเร็จจํานวนไมนอยมักดัดแปลงมาจากบท ประพันธ เพราะสามารถถายทอดเนื้อหาและเรื่องราวในบทประพันธออกมาไดอยางสมบูรณแบบ และถูกใจผูชม เชน ภาพยนตรเรื่อง “แผลเกา” (พ.ศ.2520) ซึ่งมาจากบทประพันธของ ไม เมืองเดิม หรือ “ขางหลังภาพ” (พ.ศ.2544) จากบทประพันธของ ศรีบูรพา หรือแมกระทั่งการนํานิทานหรือ ตํานานพื้นบานมาสรางเปนบทละครรอง และตอมาไดพัฒนามาเปนภาพยนตรที่ประสบความสําเร็จ มากคือเรื่อง “นางนาก” (พ.ศ.2542) เปนตน ดังนั้นการนําเอานวนิยายมาแปลงเปนบทภาพยนตรจึง

สำหอส มุ ดกล

(13)

เปนสิ่งที่สําคัญมาก ผูเขียนบทภาพยนตรที่นํามาจากบทประพันธตองมีความรูความเขาใจเนื้อหา และความคิดของผูประพันธ รวมทั้งตองสามารถตีความเนื้อหาในนวนิยายเรื่องนั้นๆ เพื่อนํามา แปลงเปนบทภาพยนตรใหเหมาะสมกับการนําเสนอตามแนวทางของศิลปะการทําภาพยนตร

ภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร” (Tears of the Black Tiger) (พ.ศ. 2543) และ “หมา นคร” (Citizen Dog) (พ.ศ. 2547) เปนภาพยนตรที่สรางขึ้นในชวงหลังยุควิกฤตทางเศรษฐกิจป พ.ศ.

2540 ทั้ง 2 เรื่อง และสรางในระยะเวลาไมหางกันมากนัก ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนั้นเปนตัวอยางที่

นาสนใจของภาพยนตรในชวงยุคพุทธทศวรรษ 2540 เพราะภาพยนตรทั้ง 2 เรื่องนี้มีรูปแบบ เนื้อหา และการนําเสนอที่ชัดเจนและแปลกไปกวาภาพยนตรเรื่องอื่นในยุคกอนหนาและภาพยนตรรวมยุค เดียวกัน โดยเฉพาะเทคนิคดานภาพ อีกทั้งยังเปนภาพยนตรที่ไดรับการวิจารณที่ดีมากจากนัก วิจารณจํานวนไมนอย ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับนํามาศึกษาวิเคราะหและวิจารณในเชิงวิชาการเปน อยางมาก ไมเพียงเทานั้น ที่นาสนใจคือภาพยนตรเรื่อง “หมานคร” สรางมาจากบทประพันธ

ในขณะที่ “ฟาทะลายโจร” ถูกเขียนเปนบทภาพยนตรมาตั้งแตตน และในเวลาตอมาไดถูกนําไป เขียนเปนนวนิยาย โดยนักประพันธผูเขียนนวนิยายเรื่องมหานคร

ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้เปนผลงานที่สรางจากผูกํากับคนเดียวกัน คือ วิศิษฏ ศาสน เที่ยง (“ฟาทะลายโจร” เปนผลงานการกํากับภาพยนตรเรื่องแรกของวิศิษฏ สวน “หมานคร “เปน ลําดับที่สอง) และผูแตงนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ก็มาจากบุคคลเดียวกันเชนกัน คือ ศิริพรรณ เตชจินดา วงศ นอกจากนั้น ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้มีความคลายคลึงกันในหลายแงมุม ทั้งในแงการใชเทคนิค การปรับแตงสีสันใหฉูดฉาดจัดจานเกินจริงในแบบฉากละคร หรือการสะทอนภาพความประทับใจ จากภาพยนตรหลายเรื่องในอดีต นอกจากนั้นยังเปนภาพยนตรที่ถึงแมจะไดรับเสียงตอบรับอยางดี

จากนักวิจารณและประสบความสําเร็จในเวทีประกวดตางประเทศ แตก็กลับประสบความลมเหลว ดานรายไดในประเทศไทย

ในดานเนื้อหา “หมานคร” เปนภาพยนตรที่มีเนื้อหาในเชิงวิพากษวิจารณสังคมปจจุบัน ในลักษณะสอเสียดและขบขัน แต “ฟาทะลายโจร” สะทอนความประทับใจในรูปแบบการสราง ภาพยนตรไทยในอดีตของผูกํากับ ซึ่งความประทับใจนี้สงผานไปถึงผูประพันธนวนิยายเรื่องนี้ดวย เชนกัน

ความโดดเดนในการออกแบบภาพ ฉาก การแสดง และการนําเสนอเนื้อหาในประเด็น ที่แตกตางกันของสังคมไทยในอดีตและปจจุบันของภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้ นําไปสูความสนใจใน การศึกษาวิเคราะหการแปลงบทประพันธไปสูบทภาพยนตร และการแปลงบทภาพยนตรไปสูนว นิยาย รวมทั้งรูปแบบการสรางภาพยนตรที่เปนเอกลักษณของผูกํากับ ไมวาจะเปนรูปแบบของ

สำหอส มุ ดกล

(14)

ภาพยนตร บทภาพยนตร ภาพ การตัดตอ ฉาก เสียง ทั้งดนตรีประกอบ เสียงประกอบ รวมไปถึงบท พูด

ดวยเหตุนี้วิทยานิพนธฉบับนี้จึงมุงศึกษาวิเคราะหภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้ โดยการ เปรียบเทียบบทประพันธกับบทภาพยนตรเพื่อหาความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการแปลงบท ประพันธใหเปนบทภาพยนตรและจากการแปลงบทภาพยนตรใหกลายเปนบทประพันธ สําหรับ ภาพยนตรเรื่อง “หมานคร” จะนําบทประพันธที่เขียนขึ้นกอนมาเปรียบเทียบกับบทภาพยนตร สวน ภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร” จะนําบทภาพยนตรที่เขียนขึ้นกอนมาเปรียบเทียบกับบทประพันธ

ที่เปนภาคขยายความมาจากบทภาพยนตร นอกจากนี้ยังศึกษาความเปนทัศนศิลปของภาพยนตรจาก บทภาพยนตร การลําดับภาพ การตัดตอ การจัดฉาก การจัดมุมกลอง การจัดแสงและสี การใชดนตรี

และเสียงประกอบฉาก เพื่อนํามาวิเคราะหถึงการสื่อความหมายดวยภาพในแบบฉบับของศิลปะการ สรางภาพยนตร รวมไปถึงแนวคิดเรื่องสังคม แรงบันดาลใจ และแนวคิดอื่นๆ ที่สอดแทรกอยูใน ภาพยนตรทั้งสองเรื่องนี้ดวย

2. วัตถุประสงคของการศึกษา

2.1. ศึกษาประวัติศาสตรและพัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตรในประเทศไทย 2.2. ศึกษาและวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบเรื่อง “หมานคร” ที่นําบทประพันธมา ตีความและดัดแปลงมาเปนบทภาพยนตร

2.3. ศึกษาและวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบ “ฟาทะลายโจร” กับนวนิยายที่เขียนขึ้น ภายหลัง

2.4. ศึกษาวิเคราะหองคประกอบของภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร”

โดย ศึกษาจากบทภาพยนตร ภาพ ฉาก เสียงประกอบ เทคนิคการถายทําภาพยนตร ตลอดจน องคประกอบอื่นๆ ที่ใชในการถายทอดเนื้อหาและสื่อความหมายในภาพยนตรทั้ง 2 เรื่องนี้

2.5. ศึกษาสิ่งที่สอดแทรกอยูในภาพยนตรทั้ง 2 เรื่อง ทั้งดานวัฒนธรรมทางสังคม วัฒนธรรมทางภาพยนตรไทยและภาพยนตรตางประเทศ แรงบันดาลใจของผูสรางภาพยนตร

ตลอดจนศิลปกรรมในแขนงอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อเชื่อมโยงใหเห็นประเด็นที่นาสนใจที่เกิดจากการ แปลงสื่อวรรณกรรมใหเปนสื่อภาพยนตร และการแปลงสื่อภาพยนตรใหกลายเปนสื่อวรรณกรรม 3. สมมติฐานของการศึกษา

“ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร” เปนภาพยนตรที่นับวาประสบผลสําเร็จเรื่องหนึ่งของ ไทย โดยวัดจากกระแสวิจารณที่ดีทั้งจากนักวิจารณในประเทศไทยและจากผูชมในตางประเทศ

สำหอส มุ ดกล

(15)

ความสําเร็จสวนหนึ่งนาจะมาจากรูปแบบที่แปลกใหมของภาพยนตร การผสมผสานหลากหลาย รูปแบบของภาพยนตรไวในเรื่องเดียวกัน การนําเสนอเนื้อหาเรื่องราวที่ไมซ้ําใครของภาพยนตร

รวมไปถึงกลิ่นอายความประทับใจภาพยนตร เพลง และวิถีชีวิตในอดีตที่สอดแทรกในภาพยนตร

ความนาสนใจของภาพยนตร 2 เรื่องนี้ คือ การดัดแปลง ตีความ และเพิ่มเติมเนื้อหาบางอยางจากบท ประพันธมาถายทอดเปนบทภาพยนตรในเรื่อง “หมานคร” และการนําบทภาพยนตรมาดัดแปลง เปนนวนิยายใน “ฟาทะลายโจร” ซึ่งเปนประเด็นสําคัญในการศึกษาวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงสื่อ การนําเสนอเนื้อหาจากตัวอักษรในบทประพันธมาเปนภาพในภาพยนตร วากอใหเกิดผลกระทบ หรือปญหาใดบางตอการสรางและความสําเร็จของภาพยนตร

4. ขอบเขตการศึกษา

ศึกษาการแปลงบทภาพยนตรเปนนวนิยายใน “ฟาทะลายโจร” และการแปลงบท ประพันธใหเปนบทภาพยนตรใน “หมานคร” โดยจะมุงเนนการศึกษาวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงสื่อ การนําเสนอเนื้อหาจากตัวอักษรในนวนิยายมาเปนภาพในภาพยนตรวา เกิดผลกระทบใดบางตอการ สรางและความสําเร็จของภาพยนตร ตลอดจนการนําบทภาพยนตรมาดัดแปลงเปนนวนิยายนั้นเปน การเพิ่มเติมเนื้อหาหรือขยายความจากบทภาพยนตรอยางไร

5. ขั้นตอนของการศึกษา

ขั้นตอนการดําเนินการ

เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ถึง เดือน มีนาคม พ.ศ. 2557 ก.ค.

ก.ย.

2554 ต.ค.

ธ.ค.

2554 ม.ค.

เม.ย.

2555 พ.ค.

ส.ค.

2555 ก.ย.

ธ.ค.

2555 ม.ค.

เม.ย.

2556 พ.ค.

ส.ค.

2556 ก.ย.

ธ.ค.

2556 ม.ค.

มี.ค.

2557 1. เก็บรวบรวมขอมูลจาก

เอกสารที่เกี่ยวของ 2. เก็บรวบรวมขอมูล ภาคสนาม

3. วิเคราะหขอมูล 4. สรุปผลการศึกษา

สำหอส มุ ดกล

(16)

ขั้นตอนการดําเนินการ

ก.ค.

ก.ย.

2554 ต.ค.

ธ.ค.

2554 ม.ค.

เม.ย.

2555 พ.ค.

ส.ค.

2555 ก.ย.

ธ.ค.

2555 ม.ค.

เม.ย.

2556 พ.ค.

ส.ค.

2556 ก.ย.

ธ.ค.

2556 ม.ค.

มี.ค.

2557 5. เขียนรายงานการวิจัย

6. จัดทําเอกสารตนฉบับเปน รูปเลม

6. วิธีการศึกษา

6.1. ศึกษาประวัติศาสตรและพัฒนาการของภาพยนตรในประเทศไทย ตั้งแต พ.ศ.

2500 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน จากแหลงขอมูลในหนังสือ นิตยสาร วารสาร และเว็บไซต

6.2. ศึกษาบทภาพยนตรและบทประพันธเรื่อง “ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร”

รวมทั้งภาพยนตรและบทประพันธเรื่องอื่นๆ ที่นํามาใชเปนขอมูลในการเปรียบเทียบ จากขอมูลที่

เปนหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร

6.3. ศึกษาและวิเคราะหภาพยนตรทั้งสองเรื่องและภาพยนตรเรื่องอื่นๆ ที่นํามา เปรียบเทียบ ตามหลักการวิเคราะหภาพยนตร เชน ภาพ ฉาก เสียงประกอบ และเทคนิคการสื่อ ความหมายดวยภาพของศิลปะการสรางภาพยนตร จากหนังสือและตําราตางๆ รวมทั้งขอมูลใน เว็บไซต

6.4. ศึกษาบทวิจารณภาพยนตรทั้งสองเรื่องจากหนังสือพิมพและนิตยสารตางๆ รวมทั้งจากบทสัมภาษณผูกํากับและนักประพันธเรื่อง “ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร”

6.5. วิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลที่ไดรับจากการคนควาทั้งหมดเพื่อสรุปเปนผลงานวิจัย ที่สมบูรณ

7. แหลงขอมูล

7.1. แผนบันทึกภาพยนตร เรื่อง “ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร” และภาพยนตรเรื่อง อื่นๆ ที่นํามาใชเปนขอมูลในการเปรียบเทียบได

7.2. หนังสือนวนิยาย เรื่อง “ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร” และบทประพันธเรื่อง อื่นๆ ที่นํามาใชเปนขอมูลในการเปรียบเทียบได

7.3. สัมภาษณผูกํากับ และนักประพันธ เรื่อง “ฟาทะลายโจร” และ “หมานคร”

สำหอส มุ ดกล

(17)

7.4. หนังสือและตําราเกี่ยวกับศิลปะการสรางภาพยนตร และประวัติศาสตรภาพยนตร

7.5. หนังสือและตําราเกี่ยวกับการวิจัย และการวิจารณภาพยนตร

7.6. หนังสือและตําราเกี่ยวกับศิลปะการประพันธนวนิยายและบทประพันธอื่นๆ 7.7. บทความ ขอเขียนวิจารณ อื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับภาพยนตรเรื่อง “ฟาทะลายโจร”

และ “หมานคร”

7.8. อินเตอรเน็ต

สำหอส มุ ดกล

(18)

7

ประวัติศาสตรและพัฒนาการอุตสาหกรรมภาพยนตรไทย

ภาพยนตร1เปนผลิตผลสําคัญซึ่งเปนผลพวงจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีของมนุษย

และไดพัฒนารูปแบบในการนําเสนอมาโดยตลอดควบคูกับพัฒนาการของสภาวะสังคมสมัยใหม

(Modernist) ยิ่งเทคโนโลยีของโลกกาวล้ําหนาไปมากเทาไหร ภาพยนตรจะยิ่งเรงพัฒนาทั้งในดาน เทคโนโลยีและสุนทรียภาพของภาพยนตรไปมากขึ้นเทานั้น เมื่อภาพยนตรพัฒนามากขึ้น จํานวน

1 ภาพยนตร (Film หรือ Motion picture หรือ Movie หรือ Cinema) ในความหมาย โดยทั่วไปหมายถึง กระบวนการบันทึกภาพบนแผนฟลม และฉายภาพบนจอระนาบ 2 มิติ ใน ลักษณะภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตรแบงประเภทออกเปน 3 ประเภทใหญๆ ตามรูปแบบการนําเสนอ (Style) อันไดแก 1.Classical Cinema หรือภาพยนตรบันเทิงคดี คือภาพยนตรที่ใชเทคนิคของ ภาพยนตรเพื่อเลาเรื่องและสรางอารมณรวมเปนหลัก ภาพยนตรบันเทิงสวนมากจัดอยูในกลุมนี้ 2.

Realism คือภาพยนตรที่นําเสนอเหตุการณจริงหรือเชิงสารคดีและภาพยนตรขาว มีจุดมุงหมายเพื่อให

ความรู 3. formalism คือภาพยนตรที่สรางตามหลักทฤษฎีของศิลปะการทําภาพยนตรเพื่อหา แนวทางใหมๆ ใหกับวงการภาพยนตรโดยเนนคุณภาพเปนหลัก ซึ่งมักเปนภาพยนตรเชิงทดลอง (Experimental Film) หรือภาพยนตรที่สรางเพื่อสื่อสารเนื้อหาสาระเฉพาะบางประการที่ไมเนน ความบันเทิงหรือสารคดี แตเนนการแสดงความคิด สื่อความหมายผานสัญลักษณ สวนมากเมื่อ กลาวถึง “ภาพยนตร” มักเขาใจในความหมายโดยทั่วไปวาหมายถึงภาพยนตรประเภทบันเทิงคดี

เพราะเปนประเภทที่มีจํานวนมากที่สุดและเปนที่นิยมในวงกวาง สําหรับวิทยานิพนธฉบับนี้จะ จํากัดความหมายของคําวา “ภาพยนตร” ไวเฉพาะ “ภาพยนตรประเภทบันเทิงคดี” แตหากกลาวถึง ภาพยนตรประเภทอื่นนอกจากนี้ จะระบุประเภทของภาพยนตรไวใหชัดเจนวาเปน ภาพยนตรสาร คดี ภาพยนตรขาว หรือภาพยนตรโฆษณา เปนตน เปรียบเทียบที่ วิระชัย ตั้งสกุล และภัทรวดี จันทร ประภา, เอกสารการสอนชุดวิชาทฤษฏีและการวิจารณภาพยนตรเบื้องตน (นนทบุรี: สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548), 22 - 30. และ ประวิทย แตงอักษร, มาทําหนังกันเถอะ (ฉบับตัดตอใหม) (กรุงเทพฯ: ก.พล (1996), 2551), 13 – 27.

สำหอส มุ ดกล

(19)

ของผูชมก็จะแพรหลายเปนวงกวางมากขึ้น เพราะในอดีตความนิยมในภาพยนตรจะเริ่มตนจาก กลุมผูชมซึ่งสวนใหญมีอาชีพเปนผูใชแรงงานในระบบอุตสาหกรรม จํานวนของชนชั้นกรรมาชีพ ที่เพิ่มมากขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ตองพึ่งพาระบบอุตสาหกรรม มีสวนสําคัญที่ทําให

ภาพยนตรเติบโตอยางรวดเร็วจนกลายเปนธุรกิจอุตสาหกรรมที่สําคัญ การเติบโตของอุตสาหกรรม ภาพยนตรเห็นไดอยางชัดเจนจากการเกิดบริษัทสรางภาพยนตรยักษใหญจํานวนมาก และการ ไหลเวียนของเม็ดเงินจํานวนมหาศาลเพื่อตอบรับกับกระแสผูชมที่เพิ่มจํานวนมากขึ้นหลายเทาตัว โดยไมจํากัดเพียงแคประเทศเดียว แตไดขยายตัวเปนวงกวางไปยังหลายประเทศทั่วโลก นับตั้งแต

ภาพยนตรเริ่มกอตัวเปนรูปเปนรางขึ้นราวปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ภาพยนตรไดพัฒนาขึ้นเรื่อยมา จนกระทั่งกลายเปนพลังยิ่งใหญที่สุดในโลกบันเทิงของคริสตศตวรรษที่ 20 และจวบจนถึงปจจุบัน ความสําเร็จของภาพยนตรประการหนึ่งคือการเปนสื่อศิลปะสมัยใหมซึ่งเกี่ยวของกับ เทคโนโลยี ทําใหสามารถนําเสนอสิ่งใหมๆ ที่นาสนใจใหกับผูชมยุคใหมไดเปนอยางดี ผูสราง ภาพยนตรไดพัฒนาศิลปะภาพยนตรเพื่อตอบสนองจํานวนที่เพิ่มมากขึ้นและรสนิยมที่สูงขึ้นของ ผูชม ความสําเร็จที่สําคัญอีกประการหนึ่งของภาพยนตรมาจากการที่ภาพยนตรไมไดนําเสนอความ บันเทิงแบบไรสาระ เนื่องจากภาพยนตรนําเสนอภาพเคลื่อนไหวที่เหมือนจริง ผูสรางภาพยนตรจึง มักนําเสนอเนื้อหาที่ตอบสนองสิ่งที่ผูชมอยากชม ถึงแมวาบางครั้งเนื้อหาที่นําเสนอจะเปนเรื่องเพอ ฝนไกลตัวก็ตาม แตความสมจริงของภาพและเสียงที่ปรากฏบนจอภาพก็สามารถโนมนาวใหรูสึก ราวกับวาผูชมกําลังตกอยูในสถานการณจริงได นอกจากนั้นการนําเสนอเรื่องราวที่ใกลเคียงกับชีวิต จริงไดอยางสมจริง ก็สามารถสรางความสะเทือนใจแกผูชมไดเชนกัน ดังนั้นสําหรับผูชมภาพยนตร

แลว จุดประสงคหลักที่เขาชมภาพยนตรนอกเหนือจากจะเปน “วัฒนธรรมการพักผอน” อยางหนึ่ง ภาพยนตรยังสามารถตอบสนองความใฝฝนทางสังคม (Social romanticism) ซึ่งไมมีวันจะเกิดขึ้นได

ในชีวิตจริงอีกดวย

ภาพยนตรจํานวนมากถูกสรางขึ้นไปพรอมกับการพัฒนาศิลปะภาพยนตรเพื่อ ตอบสนองมวลชนหมูมากในสังคม ในขณะที่ความใฝฝนทางสังคมยังคงเปนสิ่งที่อยูเบื้องหลังการ ผลิตภาพยนตรสวนมากอยู โลกก็ไดเห็นภาพยนตรที่ถูกผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนอง “ความใฝฝนทาง สังคม” อื่นๆ เพิ่มจํานวนมากยิ่งขึ้นทุกที ทั้งนี้ เนื่องจากปจจัยตางๆ หลายประการที่ประกอบเขา ดวยกัน รวมทั้งการปรับตัวทางสังคมของศิลปะแขนงอื่นๆ ดวย เชน การละครและวรรณกรรม ขณะที่การจัดมหกรรมภาพยนตรระหวางประเทศไดเขามามีบทบาทในการยกระดับคุณภาพทาง ศิลปะของภาพยนตรมากขึ้น และรสนิยมของการเสพภาพยนตรก็ไดพัฒนามากขึ้นตามลําดับโดย ธรรมชาติดวย ดังนั้น ปจจุบันผูชมสวนหนึ่งจึงมีโอกาสไดชมภาพยนตรที่ตอบสนองความตองการ อื่นๆ นอกเหนือจากความบันเทิงแตอยางเดียว

สำหอส มุ ดกล

(20)

การที่ความนิยมภาพยนตรของสาธารณชนจํานวนมากมีอัตราสูงขึ้นเปนเทาตัว ทําให

รัฐบาลในหลายประเทศมีนโยบายสงเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตรใหเปนกิจการที่สําคัญอันดับตนๆ ของชาติ เพราะนอกจากรายไดจํานวนมหาศาลที่จะไดรับจากภาพยนตรแลว ยังตระหนักวา ภาพยนตรเปนสื่อที่มีพลังในการจูงใจดึงดูดผูชมใหคลอยตามไดมาก ดังนั้นภาพยนตรจึงเปน เครื่องมืออยางดีที่จะใชโฆษณาประชาสัมพันธภาพลักษณหรือแนวคิดบางประการใหแกคนในชาติ

และประชาคมโลก ดังเชน ภาพยนตรโฆษณาชวนเชื่อทางการเมืองในยุคสงครามเย็นที่นําเสนอ แนวคิดเรื่องสิทธิเสรีภาพและทุนนิยมแบบอเมริกันในภาพยนตรฮอลลีวูดของประเทศ สหรัฐอเมริกา หรือการสอดแทรกวัฒนธรรมที่ดีของชาติ หรือความสวยงามสมบูรณของธรรมชาติ

เพื่อแฝงการประชาสัมพันธอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ดังตัวอยางในภาพยนตรหลายเรื่องจาก ประเทศจีน ญี่ปุน และเกาหลี เปนตน

ดังที่กลาวมาแลวขางตนวา ภาพยนตรในฐานะที่เปนศิลปะแขนงหนึ่งที่มีอิทธิพลตอ มวลชนโดยตรง ไดทวีบทบาทและความสําคัญมากขึ้น เพราะภาพยนตรเขาถึงตัวผูชมและขยายไป ยังสังคมอื่นๆ ไดอยางรวดเร็วโดยไมมีเสนแบงเขตดานชนชาติและภาษา ดวยเหตุนี้ภาพยนตรจึงกอ ตัวเปนอุตสาหกรรมที่เจริญเติบโตและขยายตัวอยางรวดเร็วจนกลายเปนสินคาสงออกที่สําคัญของ หลายประเทศ และเนื่องจากการที่เนื้อหาของภาพยนตรมักแฝงซึ่งแนวคิดของผูคนและวัฒนธรรม ของชาติ จึงอาจกลาวไดวา ภาพยนตรที่สรางโดยชาติหนึ่งชาติใดนั้น มักจะแสดงใหเห็นถึง วัฒนธรรมของชาตินั้นไดเปนอยางดี และทําใหผูชมตางชาติตางภาษาไดรับเนื้อหาสาระทาง วัฒนธรรมซึ่งปรากฏในภาพยนตรเรื่องนั้นพรอมกันไปดวยนอกเหนือจากความบันเทิง เชนเดียวกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบไทยที่ปรากฏในภาพยนตรไทยก็สามารถเผยแพรภาพลักษณ

แบบไทยออกไปสูสายตาของประชาคมโลกไดเชนกัน 1. ประวัติศาสตรและพัฒนาการทางเทคโนโลยีภาพยนตร

ภาพเคลื่อนไหว (motion picture) คือองคประกอบหลักของภาพยนตรในการสื่อสาร กับผูชม การเคลื่อนไหวของภาพนิ่งที่ฉายผานแผนฟลมบนจอภาพไมใชเกิดจากกระบวนการทาง เทคนิคอยางเดียว แตเกิดจากกระบวนการมองเห็นของนัยนตามนุษยดวย ทฤษฏี Persistence of Vision อธิบายหลักการมองเห็นภาพตอเนื่องของนัยนตามนุษย ซึ่งเกิดจากการที่จอรับภาพ (retina) ของนัยนตาสามารถเก็บภาพที่มนุษยมองเห็นไวประมาณ 1/3 วินาที และหากภายในชวงนี้มีภาพ แทรกเขามาอีกเรื่อยๆ อยางตอเนื่องหลายๆ ภาพ สมองจะทําการเชื่อมโยงภาพเหลานั้นให

ตอเนื่องกันเปนลูกโซ ทําใหเรามองเห็นภาพนิ่งเหลานั้นเปนภาพเคลื่อนไหว ทฤษฏีนี้ไดกลายมา เปนหลักการในการสรางภาพเคลื่อนไหว (motion picture) ซึ่งเกิดจากการบันทึกภาพเคลื่อนไหวให

สำหอส มุ ดกล

Referensi

Dokumen terkait

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตาม รูปแบบร่วมมือเทคนิค STAD