• Tidak ada hasil yang ditemukan

การนําวรรณกรรมมาสรางเปนภาพยนตรของไทย

ในวงการภาพยนตรไทย นับตั้งแตภาพยนตรที่สรางเพื่อความบันเทิงไดรับความนิยม วรรณกรรมยอดนิยมที่ขายดีของไทยจํานวนมากไดถูกนํามาดัดแปลงมาสรางเปนภาพยนตรจํานวน ไมนอยเชนกัน อาจกลาวไดวาภาพยนตรและวรรณกรรมผูกพันกันอยางแนนแฟน ดังจะเห็นไดจาก การที่วรรณกรรมหลายประเภท เชน เรื่องสั้น บทละคร นวนิยาย นิทานพื้นบาน ฯลฯ ซึ่งประสบ ความสําเร็จและเปนที่นิยมในหมูนักอานวรรณกรรมมาอยางยาวนานไดถูกนํามาดัดแปลงมาสราง เปนภาพยนตรแทบทั้งสิ้น และหลายเรื่องก็ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตรหลายครั้งในหลายยุคสมัย อาทิเชน นวนิยายเรื่อง “แผลเกา” จากบทประพันธของ ไม เมืองเดิม ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ. 2483 พ.ศ. 2489 และ พ.ศ. 2520) “สาวเครือฟา” สรางจากบทละครรอง พระนิพนธของ พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธพงศ ถูกนํามาสรางเปน ภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2508 และ พ.ศ. 2523) นวนิยายเรื่อง “จําเลยรัก” จากบทประพันธ

ของ ชูวงศ ฉายะจินดา ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 2 ครั้ง (พ.ศ. 2506 และ พ.ศ. 2521) นวนิยาย เรื่อง “รอยไถ” จากบทประพันธของ ไม เมืองเดิม สรางเปนภาพยนตร 4 ครั้ง (พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2532) นวนิยายเรื่อง “ชั่วฟาดินสลาย” จากบทประพันธของ มาลัย ชูพินิจ ถูก นํามาสรางเปนภาพยนตร 4 ครั้ง (พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2523 และ พ.ศ. 2553) นวนิยายเรื่อง

“มนตรักลูกทุง” จากบทประพันธของ รังสี ทัศนพยัคฆ ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ.

2513 พ.ศ. 2525 และ พ.ศ. 2548) นวนิยายเรื่อง “พรุงนี้ฉันจะรักคุณ” จากบทประพันธของ สุวรรณี

สุคนธา ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2523 และ พ.ศ. 2532) นวนิยายเรื่อง

สำหอส มุ ดกล

“เล็บครุฑ” จากบทประพันธของ พนมเทียน ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ. 2500 พ.ศ.

2511 และ พ.ศ. 2525) นวนิยายเรื่อง “เขาชื่อกานต” จากบทประพันธของ สุวรรณี สุคนธา ถูกนํามา สรางเปนภาพยนตร 2 ครั้ง (พ.ศ. 2516 และ พ.ศ. 2531) นวนิยายเรื่อง “คูกรรม” จากบทประพันธ

ของ ทมยันตี ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2538) นวนิยาย เรื่อง “ขุนศึก” จากบทประพันธของ ไม เมืองเดิม ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 2 ครั้ง (พ.ศ. 2519 และ พ.ศ. 2546) นวนิยายเรื่อง “เรื่องของ จัน ดารา” จากบทประพันธของ อุษณา เพลิงธรรม ถูก นํามาสรางเปนภาพยนตร 3 ครั้ง (พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2555) นวนิยายเรื่อง “ขางหลัง ภาพ” จากบทประพันธของ ศรีบูรพา ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 2 ครั้ง (พ.ศ. 2528 และ พ.ศ.

2544) นวนิยายเรื่อง “ทวิภพ” จากบทประพันธของ ทมยันตี ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตร 2 ครั้ง (พ.ศ. 2533 และ พ.ศ. 2547) นวนิยายเรื่อง “เสือไทยผูสุภาพ” จากบทประพันธของ เสนีย บุษปะเกศ ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตรในป พ.ศ. 2492 โดยเปลี่ยนชื่อเปน “สุภาพบุรุษเสือไทย” เนื่องจาก ภาพยนตรเรื่องนี้ไดรับความนิยมมาก จึงมีผูสรางภาพยนตรนํามาสรางตออีกหลายภาค เชน เรื่อง

“เสือไทยอาละวาด” (พ.ศ. 2493 และ พ.ศ. 2522) เปนตน

นวนิยายที่ตีพิมพและออกวางจําหนายเปนตอนๆ ซึ่งไดรับความนิยมมากจนมีผูคอย ติดตามอานอยูประจําก็ถูกนํามาสรางเปนภาพยนตรเชนกัน แตมักจะเลือกเฉพาะบางตอนมาสราง เชน นวนิยายชุด “พล นิกร กิมหงวน” หรือ “สามเกลอ” จากบทประพันธของ ป. อินทปาลิต ซึ่ง ประพันธออกมาเปนตอนๆ ระหวางป พ.ศ. 2482 – พ.ศ. 2511 ก็มีผูสนใจนํามาสรางเปนภาพยนตร

หลายครั้ง และมักนําชื่อตอนมาเปนชื่อภาพยนตร เชน “สามเกลอตามนาง” (พ.ศ. 2494) “สามเกลอ ถายหนัง” และ “สามเกลอ” (พ.ศ. 2495) “สามเกลอเจอจานผี” และ “สามเกลอกระยาจก” (พ.ศ.

2496) “สามเกลอปราบวายราย” และ “สามเกลอแผลงฤทธิ์” (พ.ศ. 2497) “สามเกลอหักดาน” (พ.ศ.

2499) “พล นิกร กิมหงวน ตอน เวทีถลมและพิชิตเมีย” (พ.ศ. 2501) “พล นิกร กิมหงวน ตะลุย ฮาเร็ม” (พ.ศ. 2502) และ “สามเกลอเจอลองหน” (พ.ศ. 2509) หรือนวนิยายชุด “อินทรีแดง” จากบท ประพันธของ เศก ดุสิต ซึ่งไดตีพิมพออกมาเปนตอนๆ ระหวางป พ.ศ. 2498 – พ.ศ. 2513 ก็ถูกนํามา สรางเปนภาพยนตรหลายครั้ง และมักนําชื่อตอนมาเปนชื่อภาพยนตรดวยเชนกัน เชน “จาวนักเลง”

(พ.ศ. 2502) “ทับสมิงคลา” (พ.ศ. 2505) “อวสานอินทรีแดง” (พ.ศ. 2506) “ปศาจดํา” (พ.ศ. 2509)

“จาวอินทรี” (พ.ศ. 2511) “อินทรีทอง” (พ.ศ. 2513) มิตร ชัยบัญชา นักแสดงนําที่มีชื่อเสียงที่สุดของ ยุคนี้ไดประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตระหวางถายทําภาพยนตรเรื่องนี้ “บินเดี่ยว” (พ.ศ. 2520) “พราย มหากาฬ” (พ.ศ. 2523) “อินทรีผยอง” (พ.ศ. 2531) และ “อินทรีแดง” (พ.ศ. 2553) เปนตน

นอกจากนี้ผูสรางภาพยนตรบางกลุมไดนํานวนิยายที่ไมคอยเปนที่รูจักมากนักในวง กวางหรือไมคอยมีชื่อเสียง แตเปนนวนิยายคุณภาพและสวนมากเปนนวนิยายที่ไดรางวัล เพราะมี

สำหอส มุ ดกล

เนื้อหาเขมขนสะทอนสังคม เชน ภาพยนตรเรื่อง “ลูกอีสาน” (พ.ศ. 2525) จากบทประพันธของ คํา พูน บุญทวี ซึ่งไดรับรางวัลดีเดน ประเภทนิยาย จากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือ ในงานสัปดาห

หนังสือแหงชาติ ป พ.ศ. 2519 และรางวัลวรรณกรรมสรางสรรคยอดเยี่ยมแหงอาเซียน หรือ รางวัล ซีไรทดีเดน ประเภทนิยาย ประจําป พ.ศ. 2522 ภาพยนตรเรื่อง “ผีเสื้อและดอกไม” (พ.ศ. 2528) จาก บทประพันธของ มกุฏ อรฤดี ซึ่งไดรับรางวัลจากการประกวดหนังสือแหงชาติ ป พ.ศ. 2521 ภาพยนตรเรื่อง “วิถีคนกลา” (พ.ศ. 2534) จากบทประพันธของ มาลา คําจันทร ภาพยนตรเรื่อง

“กาเหวาที่บางเพลง” (พ.ศ. 2537) จากบทประพันธของ หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ภาพยนตร

เรื่อง “2499 อันธพาลครองเมือง” (พ.ศ. 2540) ซึ่งดัดแปลงมาจากบทประพันธเรื่อง “เสนทางมา เฟย” ของ สุริยัน ศักดิ์ไธสง ภาพยนตรเรื่อง “จักรยานสีแดง” (พ.ศ. 2540) ดัดแปลงจากบท ประพันธเรื่อง “จักรยานแดงในรั้วเขียว” ของ ดํารง อารีกุล ภาพยนตรเรื่อง “มหา'ลัย เหมืองแร”

(พ.ศ. 2548) จากบทประพันธของ อาจินต ปญจพรรค และภาพยนตรเรื่อง “ฝนตกขึ้นฟา” (พ.ศ.

2554) จากบทประพันธของ วินทร เลียววาริณ เปนตน

จากขอมูลที่กลาวมาแลวขางตนแสดงใหเห็นวานวนิยายไทยจํานวนมากนอกจากจะ ไดรับความนิยมในหมูนักอานแลว ยังไดรับความสนใจจากผูสรางภาพยนตรอีกดวย ซึ่งอาจมาจาก เหตุผลสําคัญหลายประการนอกเหนือจากเนื้อหาที่โดดเดน นวนิยายที่ประสบความสําเร็จมักมีฐาน ความนิยมจากนักอานจํานวนมาก โดยเฉพาะเรื่องที่ไดรับความนิยมอยางตอเนื่องเปนระยะเวลา ยาวนานหลายสิบปในหมูนักอานนวนิยายหลายชวงอายุ เชน นวนิยายเรื่อง “ชั่วฟาดินสลาย” “ทวิ

ภพ” “คูกรรม” “เรื่องของ จัน ดารา” เปนตน การนํานวนิยายยอดนิยมซึ่งเปนที่รูจักในหมูนักอานมา สรางเปนภาพยนตร นับเปนกลยุทธหนึ่งในการประกันความสําเร็จใหกับภาพยนตร เพราะกลุมคน ที่เคยอานนวนิยายเรื่องนั้นนาจะเปนคนกลุมแรกที่อยากเห็นนวนิยายที่ตนชื่นชอบในรูปแบบ ภาพยนตร อยางไรก็ตาม บางครั้งภาพยนตรที่สรางมาจากนวนิยายยอดนิยมก็หาไดประสบผลสําเร็จ ดังเชนนวนิยายเสมอไปไม เพราะปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จของภาพยนตรไมไดขึ้นอยูกับความ เปนนวนิยายยอดนิยมหรือเนื้อหาของภาพยนตรเพียงอยางเดียวเทานั้น หากแตขึ้นอยูกับผูสราง ภาพยนตรวาจะสามารถถายทอดเนื้อเรื่องและอรรถรสทางวรรณศิลปดวยศิลปะการสรางภาพยนตร

ไดดีหรือนาสนใจมากเพียงใด หรือไดตรงกับความคาดหวังของผูชมซึ่งสวนหนึ่งมาจากกลุมนัก อานนวนิยายเรื่องนั้นๆ ดังนั้นจึงอาจสรุปไดวา การนํานวนนิยายซึ่งเปนที่รูจักในวงกวางมาสราง เปนภาพยนตรไมไดเปนเครื่องรับประกันความสําเร็จของภาพยนตร แตขึ้นอยูกับวาผูสราง ภาพยนตรสามารถถายทอดเนื้อหาและอารมณของนวนิยายออกมาเปนภาพไดดีเพียงใด เพราะ ภาพยนตรที่สรางจากนวนิยายยอดนิยมบางเรื่องก็ประสบความสําเร็จ และหลายเรื่องก็ไมไดรับการ ตอบรับที่ดีจากผูชม

สำหอส มุ ดกล