• Tidak ada hasil yang ditemukan

2. นวนิยาย

3.4 เสียง

3.4.1 เสียงประกอบ (sound effect) โดยทั่วไปมักเปนเสียงที่สรางบรรยากาศใหกับ ฉาก อาจเปนเสียงธรรมชาติที่อยูในฉาก เชน ในปามีเสียงแมลง น้ําตก การเสียดสีกันของกิ่งไม

ใบไมที่เกิดจากลม เปนตน นอกจากนั้นเสียงยังสามารถใชเปนแหลงความหมายไดโดยตรง เพราะ ความถี่หรือระดับเสียง (pitch) ความดัง (volume) และจังหวะ (tempo) ลวนสงผลตอการรับรูและ สรางความรูสึกเชิงจิตวิทยาทั้งสิ้น

3.4.2 เสียงสนทนา (dialogue) จะอยูในลักษณะบทสนทนาที่มาจากตัวละคร ที่

จะตองพิจารณารวมกับภาพการแสดงที่เกิดขึ้นพรอมกัน ภาษาพูดเปนอีกชองทางในการสื่อสารขั้น

สำหอส มุ ดกล

พื้นฐานนอกจากกิริยาอาการของตัวละคร ทั้งในการอธิบายความคิดของตัวละคร บอกเลาเรื่อง หรือ ใหขอมูลสําคัญที่ผูชมควรรู

3.4.3 เสียงดนตรี (music) ใชเพื่อสื่อความหมายหรือสรางอารมณใหกับผูชม โดยจะ ปรากฏรวมกับภาพเหตุการณที่ดําเนินไปในภาพยนตร ดนตรีเปนสิ่งที่มีลักษณะพิเศษในตัวเอง กลาวคือ ผูที่ฟงดนตรีจะสัมผัสไดถึงอารมณความรูสึกที่เปนนามธรรมผานเสียงของโนตแตละตัว ที่

ถูกนํามาเรียบเรียงและประสานเสียงออกมาเปนทํานอง หรือไดรับความหมายที่ผูแตงตองการสื่อ ผานบทเพลงที่มีเนื้อรอง ดังนั้นทั้งเนื้อรองและทํานองดนตรีลวนสามารถใชเพื่อสื่อสารความหมาย และสะทอนความงามไดในตัวเอง แตเมื่อนํามาใชกับภาพยนตรจะมีความหมายเฉพาะที่ใชประกอบ กับภาพ ในหลักพื้นฐาน ดนตรีประกอบภาพยนตรรวมถึงบทเพลงประกอบภาพยนตรจะมีหนาที่

กระตุนการตอบสนองดานอารมณของผูชม 4. จากนวนิยายสูภาพยนตร

นวนิยายเลาเรื่องอธิบายคุณลักษณะของสิ่งตางๆ ถายทอดความคิด อารมณ และ ความรูสึกของตัวละครโดยผานการบรรยายหรือพรรณนาความดวยภาษาซึ่งประกอบดวยคําและ ประโยค การเรียบเรียงประโยคตามหลักวรรณศิลปไมเพียงกระตุนใหผูอานสรางจินตนาการจนเกิด เปนมโนภาพเทานั้น แตยังทําใหผูอานเกิดความรูสึกเศรา สะเทือนใจ ปติยินดี โกรธแคน ชิงชัง รัก ใคร ฯลฯ ดังที่ผูเขียนตั้งใจไว สวนภาพยนตรซึ่งสื่อความหมายดวยภาพเปนหลัก มีพลังในการ สื่อสารมากกวาการบรรยายดวยภาษา เพราะภาพเพียงภาพเดียวที่ปรากฏขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เพียง 1 วินาที ก็สามารถสื่อความหมายหรือเลาเรื่องราวตางๆ ไดครอบคลุมและชัดเจนโดยไมตองอธิบาย ดวยคําใหยืดยาว เชน การบรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่และเหตุการณที่เกิดขึ้น ภาพยนตรอาจ ใชภาพเพียง 1 ชวง (shot) บนจอภาพเพียง 1 วินาที ในขณะที่นวนิยายอาจตองบรรยายดวยคําหลาย รอยคําหรือหลายสิบบรรทัดในหนาหนังสือและผูอานอาจตองใชเวลาหลายนาทีกวาจะสามารถ จินตนา-การตามได

เมื่อผูสรางภาพยนตรนํานวนิยายมาดัดแปลงสรางเปนภาพยนตรจึงตองนําจินตนาการ ของตนที่ไดจากการอานนวนิยายมาตีความเพื่อสื่อเปนภาพใหใกลเคียงกับสิ่งที่ผูประพันธได

บรรยายไวในนวนิยาย บางครั้งผูสรางภาพยนตรก็มุงนําเสนอภาพตามนวนิยายเปนหลักเพื่อรักษา เนื้อหาและประเด็นสําคัญของนวนิยายรวมถึงอรรถรสที่ผูอานไดรับจากนวนิยายไวใหไดมากที่สุด บางครั้งผูสรางภาพยนตรอาจตีความหรือดัดแปลงเนื้อหาของนวนิยายโดยการเพิ่มหรือลดประเด็น ของเรื่องตามความประสงคของตนก็ได เชน การชูประเด็นรองของเรื่องที่อยูในโครงเรื่องยอยให

กลายเปนประเด็นสําคัญเพื่อนําเสนอภาพยนตรในแงมุมใหมใหแตกตางจากนวนิยาย สิ่งที่สําคัญ

สำหอส มุ ดกล

ที่สุดของการสรางภาพยนตรที่มาจากนวนิยาย คือความพยายามในการแปลงสื่อที่เปนภาษาเขียนให

กลายเปนภาษาภาพที่ตีความมาจากนวนิยาย ไมวาจะเปน เหตุการณสําคัญในเรื่อง ตัวละคร ฉาก เสียง บทสนทนา ฯลฯ เพื่อคงไวซึ่งโครงสรางหลักของนวนิยายที่ผูอานเคยสัมผัสผานอรรถรสทาง วรรณศิลป

ภาพยนตรกับนวนิยายเลาเรื่องราวดวยสื่อที่ตางกัน ผูชมภาพยนตรมองสื่อภาพที่ผาน การคัดสรรตัดตอ และเรียบเรียงโดยผูสรางภาพยนตร ขณะที่ผูอานนวนิยายสามารถสรางมโนภาพ จากการปลุกเราจินตนาการผานภาษาและวรรณศิลปของผูประพันธ ดังนั้น การรับรูดวยการ มองเห็นภาพโดยตรงกับการรับรูดวยมโนภาพจึงตางกัน เมื่อเรามองเห็นอะไรบางอยาง สมองจะ เก็บรวบรวมขอมูลและประมวลผลอยางรวดเร็ว ทําใหรูในทันทีวากําลังเห็นอะไร และสิ่งนั้นจะ สงผลตอความรูสึกนึกคิดของเราอยางไร นอกจากภาพ ภาพยนตรยังมีองคประกอบอื่นๆ เชน ดนตรี

และเสียงที่ชวยเสริมการเลาเรื่องและสรางอารมณใหผูชมสามารถรับรูถึงเหตุการณในฉากนั้นๆ ได

อยางรวดเร็ว ขณะที่การอานเปนการใชทักษะการอานและประสบการณชีวิตเปนตัวสรางมโนภาพ สายตาที่มองผานวลีหรือประโยค เปนสัญลักษณที่มนุษยผานการเรียนรูมาแลว และตองผานการ ตีความโดยสมอง ดังนั้น เมื่อเราอานขอความจบประโยค สมองจะรวบรวมขอมูลวาประโยคนั้นสื่อ ความหมายอะไร เมื่อนั้นมโนภาพจึงเกิดขึ้น มโนภาพของแตละคนจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วหรือ ชัดเจนแคไหนก็ขึ้นอยูกับประสบการณในการอานและประสบการณชีวิตของแตละคน ดังนั้น ถึงแมวามโนภาพเกี่ยวกับนวนิยายเรื่องนั้นๆ ของผูอานแตละคนจะแตกตางกันในรายละเอียด แตจะ ตรงกันในโครงสรางใหญตามที่ผูประพันธกําหนดไว เชน ลักษณะบุคลิกภาพของตัวละคร ลักษณะ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สถานที่ เครื่องแตงกาย และสิ่งของเครื่องใช เปนตน แตในภาพยนตรผูชมจะ สามารถมองเห็นและรับรูทุกสิ่งในฉากไดตรงกันทั้งหมดตามที่ผูสรางภาพยนตรกําหนดไวใหผูชม ไดเห็น

ภาพยนตรมีขอจํากัดดานเวลาในการนําเสนอ เพราะถาภาพที่แสดงออกมาดําเนินไป อยางเชื่องชา ไมนาสนใจ หรือไมกระตุนอารมณ ผูชมจะเกิดความรูสึกเบื่อหนาย แตในการอานนว นิยาย ผูอานสามารถกําหนดการรับรูไดดวยตนเองวาจะอานตอนนั้นแบบเร็วๆ หรือชาๆ ซึ่งจะ ขึ้นอยูกับความตองการในการทําความเขาใจกับรายละเอียดในสวนนี้ ซึ่งปญหาอาจมาจากความยาก งายของเรื่องราว การพรรณนาความที่ละเอียด หรือความซับซอนของประโยค ผูอานมีอิสระทั้งใน การควบคุมเวลาในการอานและ สามารถอานยอนกลับไปกลับมาเพื่อสรางความเขาใจในเนื้อเรื่อง ใหมากขึ้น หรืออาจเลือกอานเฉพาะตอนหนึ่งหรือตอนใดที่ตนสนใจ หรืออานขามไปขามมา หรือ หยุดพักการอานชั่วคราวเมื่อใดก็ได ในขณะที่การดําเนินเรื่องของภาพยนตร ภาพทุกภาพที่ปรากฏ บนจอใหเวลาผูชมสําหรับทําความเขาใจในชวงระยะเวลาหนึ่ง และจะดําเนินตอไปเรื่อยๆ โดยไมมี

สำหอส มุ ดกล

การหยุดพัก ผูชมไมสามารถกําหนดไดวาจะเลือกดูอะไร ไมดูอะไร การกําหนดเวลาและควบคุม การเลาเรื่องทั้งหมดอยูที่ผูสรางภาพยนตรเทานั้น ผูชมถูกกําหนดใหรับชมภาพยนตรในลักษณะรวด เดียวจนจบ อาจมีการหยุดพักบาง ในกรณีที่ภาพยนตรเรื่องนั้นมีความยาวมาก และผูชมไมสามารถ ยอนกลับไปดูตอนใดตอนหนึ่งอีกครั้งไดอีก (กรณีการชมในโรงภาพยนตรแบบปกติ ไมใชการ รับชมผานสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ ) ยกเวนในกรณีที่ผูสรางจงใจใชกลวิธีการตัดตอภาพจากฉาก กอนหนากลับมาใหผูชมดูอีกครั้งหนึ่งในลักษณะใหตัวละครคิดถึงภาพในอดีต ซึ่งมักเปนภาพที่ให

ผูชมเห็นเพียงบางสวนแบบเร็วๆ เพื่อชวยใหผูชมเขาใจเรื่องราวหรือเหตุการณตางๆ หรือสามารถ ปะติดปะตอเรื่องราวที่ซับซอนซอนเงื่อนไดชัดเจนมากขึ้น

ความตอเนื่องในภาพยนตรมีความสําคัญมาก ดวยเหตุนี้ภาพที่ปรากฏในภาพยนตรจึง ตองเปนภาพที่ผูชมสามารถเขาใจไดทันทีวาตองการสื่อความหมายอะไร การดําเนินเรื่องก็ตอง กระชับ รวดเร็ว ตอเนื่อง ลื่นไหลอยางไมสะดุด อยางไรก็ตาม บอยครั้งที่การดําเนินเรื่องอยาง รวดเร็วดวยภาพอาจสรางความสับสนตอการลําดับความคิดของผูชมได ดวยเหตุนี้ ผูสรางจึงคิดหา เทคนิคหรือวิธีการบางอยางมาแกไขปญหานี้ เชน กรณีที่การเปลี่ยนฉากมีผลตอการเปลี่ยนเวลาและ สถานที่ตามเนื้อเรื่อง ผูสรางตองใหขอมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องนี้แกผูชมเพื่อความตอเนื่องทาง ความคิดและการลําดับเรื่องที่สมบูรณของภาพยนตร โดยอาจใชภาพที่บงบอกถึงเวลาและสถานที่

แทรกเขาไปเพียงชวงเวลาสั้นๆ ระหวางการเปลี่ยนฉาก เชน อาจใชภาพพระอาทิตยกําลังตกดิน แทรกเขามากอนเปลี่ยนเปนฉากกลางคืน อาจแทรกภาพอาคารหรือเมืองที่บอกใหรูเปนนัยอยาง รวดเร็ววาเปนการตัดฉากไปสูเหตุการณในอีกสถานที่หนึ่ง เปนตน ในขณะที่นวนิยายซึ่งเลาเรื่อง เปนบท เมื่อจบบท ผูอานจะรูวาเปนการเปดฉากเรื่องราวในบทนั้นแลว ดังนั้นผูแตงจึงไมจําเปนตอง คํานึงถึงความลื่นไหลระหวางแตละบทมากเทาใดนัก อีกอยางหนึ่งผูอานอาจหยุดพักการอานนว นิยายเมื่อใดก็ไดโดยไมตองคํานึงถึงความตอเนื่อง เพราะสามารถอานยอนกลับไปเพื่อทําความ เขาใจไดเสมอ

นวนิยายไมมีขอจํากัดดานความยาวของเรื่องเทาใดนัก ดังนั้นความมากมายและ หลากหลายของเหตุการณที่เกิดขึ้นและตัวละคร จึงมีไมจํากัดตามที่ผูแตงตองการ ขณะที่ภาพยนตร

มีขอจํากัดดานเวลาในการนําเสนอ ซึ่งเปนเหตุผลทั้งเชิงพาณิชยและเทคนิค เพราะภาพยนตรที่มี

ความยาวมากเกินไปอาจทําใหผูชมเบื่อหนายได ดวยเหตุนี้เมื่อมีการนํานวนิยายมาสรางเปน ภาพยนตร ผูสรางจึงตองดัดแปลงการดําเนินเรื่องใหมีความกระชับขึ้น เชน อาจตัดเหตุการณ ฉาก หรือตัวละครที่ไมสําคัญตอโครงเรื่องใหญใหนอยลง หรืออาจรวบเหตุการณหลายเหตุการณเขาไว

ดวยกัน หรืออาจเปลี่ยนเหตุการณบางเหตุการณไปจากเดิมใหเหมาะสมกับความยาวในการนําเสนอ ภาพยนตรโดยใชเทคนิคการถายทําภาพยนตรเขามาชวย เชน การเรงความเร็วของภาพ หรือการใช

สำหอส มุ ดกล