• Tidak ada hasil yang ditemukan

7. แหลงขอมูล

3.2 ยุคเริ่มตนภาพยนตรไทยพากย

นอกจากภาพยนตรมาตรฐานเสียงในฟลม ฟลม 35 มม. ที่สรางโดยบริษัท ภาพยนตรเสียงศรีกรุงและไทยฟลมแลวยังมีภาพยนตรอีกประเภทหนึ่งคือ “ภาพยนตรไทยพากย” ที่

สรางโดยกลุมผูสรางภาพยนตรรายอื่นๆ ซึ่งเคยสรางภาพยนตรเงียบมากอน แตไมมีเงินทุนพอที่จะ สรางภาพยนตรเสียง จึงไดหันมาสรางภาพยนตรประเภทนี้แทน ภาพยนตรไทยพากยแทจริงก็คือ ภาพยนตรเงียบนั่นเอง กลาวคือ ถายทําแบบภาพยนตรเงียบ ไมมีการบันทึกเสียง แตขณะฉายในโรง ภาพยนตรจะอาศัยนักพากยใหเสียงพูดตัวละครและเสียงประกอบอื่นๆ

แตเดิมภาพยนตรพากยนั้นมีที่มาจากการพากยเสียงภาษาไทยใหภาพยนตรเสียง ในฟลมที่มาจากตางประเทศ เพราะผูชมชาวไทยสวนใหญไมเขาใจภาษาตางประเทศ “ทิดเขียว”

หรือ นายสิน สีหบุญเรือง เปนผูริเริ่มพากยภาพยนตรเสียง เรื่องแรกที่พากยคือภาพยนตร

ตางประเทศเรื่อง “อาบูหะซัน” ที่ฉายรอบปฐมทัศนในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 247615 การพากยเสียงใน ลักษณะนี้เปนการ “พากยสด” ไปพรอมกับการฉายภาพยนตร การพากยเสียงภาษาไทยทับลงใน ภาพยนตรเสียงตางประเทศไดรับความนิยมและเปนที่ชื่นชอบของผูชมอยางรวดเร็ว เพราะนักพากย

จะไมเพียงแต “พูดตามบท” แตจะเพิ่มอรรถรสดวยการ “พูดนอกบท” ซึ่งมักเปนการสอดแทรก คําพูดขําขันเขาไปดวย ดังนั้น นักพากยจึงกลายเปนอาชีพใหมอยางหนึ่งในวงการภาพยนตรไทย โรงภาพยนตรหลายโรงตองกั้นหองเฉพาะสําหรับนักพากยคูกับหองฉายเสมอ นักพากยจะนั่งพากย

ใสไมโครโฟนผานเครื่องขยายเสียงออกทางลําโพงดังลั่นไปทั่วโรง

14 ในหนังสือ “ภาพยนตรกับการเมือง” แตงโดย ชาญวิทย เกษตรศิริ ไดยกขอความที่

ตัดตอนมาจากหนังสือ “80 ป ในชีวิตขาพเจา” ของ ขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งเปนผูเขียนบทและกํากับการ แสดงภาพยนตรเรื่อง บานไรนาเรา ที่เลาถึงการสรางภาพยนตรเรื่องนี้ไวดังนี้ “จอมพล ป. พิบูล สงครามจะใหกองทัพอากาศสรางภาพยนตร...โดยมีจุดประสงคที่จะยกฐานะของชาวนาใหสูงขึ้น อยางในตางประเทศ...ทานผูใดที่เคยดูหนังเรื่องนี้ จะรูสึกแปลกประหลาดใจที่เห็นชาวนาใสหมวก ปกใหญๆ เสื้อเชิ้ต กางเกงขายาว รองเทาบูต ...ขาพเจาไดทราบวาเปนความประสงคของทานจอม พล ป. พิบูลสงครามใหแตงอยางนั้น .. ไมใชนุงกางเกงไทยครึ่งนอง เสื้อแบบกุยเฮง สวมงอบ” ดูใน ชาญวิทย เกษตรศิริ, ภาพยนตรกับการเมือง, 45-46.

15 โดม สุขวงศ, ประวัติภาพยนตรไทย, 32.

สำหอส มุ ดกล

เนื่องจากภาพยนตรเงียบใชทุนในการสรางนอยกวา วิธีการถายทําถูกกวาและงาย กวาภาพยนตรเสียงมาก จึงทําใหผูสรางภาพยนตรไทยจํานวนมากทั้งผูที่เคยมีประสบการณในการ สรางภาพยนตรเงียบมากอน และผูสรางหนาใหม หันมาสรางภาพยนตรไทยพากย ความนิยม ชมชอบวิธีการพากยภาพยนตรโดยนักพากยมืออาชีพทําใหภาพยนตรพากยเปนที่นิยมของผูชม ทั่วไปเปนอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับที่เรียกวา “ชาวบานรานตลาด” เนื้อหาที่นิยมนํามาสราง ภาพยนตรประเภทนี้สวนใหญมักมาจากนิทานพื้นบาน วรรณคดีที่รูจักกันดี หรือ นวนิยายยอดนิยม บริษัทผูสรางภาพยนตรไทยพากยในยุคนี้ ไดแก บริษัทหัสดินทรภาพยนตร ที่สรางเรื่อง “ระเดนลัน ได” (พ.ศ. 2478) และ “แมนาคพระโขนง” (พ.ศ. 2479) บริษัทศรีบูรพาภาพยนตร ที่สรางเรื่อง

“โมรา” (พ.ศ. 2478) และ “ลูกกําพรา” (พ.ศ. 2481) บริษัทกรุงเทพภาพยนตร ที่สรางเรื่อง “พระ รวง” (พ.ศ. 2480) และ บริษัทละโวภาพยนตร สรางเรื่อง “หนามยอกเอาหนามบง” (พ.ศ.2479) เปน ตน

ภาวะฟลมภาพยนตรขาดแคลนเนื่องจากสถานการณสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหวางป

พ.ศ. 2482 ถึง พ.ศ. 2488 ทําใหผูสรางภาพยนตรบางรายหันมาใชฟลมขนาดเล็ก 16 มม. ซึ่งใชกัน อยางแพรหลายในหมูนักถายทําภาพยนตรสมัครเลน และยังพอหาซื้อได มาถายทําภาพยนตรแทน ผูสรางรายแรกที่ใชฟลมขนาด 16 มม. มาสรางภาพยนตรไทยพากยคือ นายเลื่อน พงษโสภณ โดย สรางเรื่อง “เมืองทอง” ซึ่งออกฉายป พ.ศ. 2480 ตอมานายบุญชอบ อองสวาง ในนาม “ไตรภูมิ

ภาพยนตร” ก็สรางภาพยนตรไทยพากยเรื่อง “สามปอยหลวง” โดยใชฟลมภาพยนตร 16 มม. ระบบ สีธรรมชาติ ซึ่งเพิ่งเกิดขึ้น16 โดยออกฉายในป พ.ศ. 2483 ซึ่งก็ไดรับความสําเร็จอยางดียิ่ง ความสําเร็จของภาพยนตรเรื่อง “เมืองทอง” และ “สามปอยหลวง” เปนตัวอยางใหผูสรางภาพยนตร

รายอื่นหันมาสรางภาพยนตรดวยฟลมขนาด 16 มม. ตาม ทําใหยังคงมีการผลิตภาพยนตรไทยพากย

ออกมาอยางตอเนื่อง และจัดฉายใหผูชมไดรับความบันเทิงระหวางที่ประเทศอยูในภาวะสงคราม จนกระทั่งชวงปลายสงคราม เมื่อประเทศไทยโดยเฉพาะกรุงเทพฯ ถูกทิ้งระเบิดโจมตีจากทาง อากาศอยางหนักจนไฟฟาดับและไฟไหมหลายพื้นที่ โรงภาพยนตรจึงตองปดกิจการชั่วคราว อีกทั้ง โรงภาพยนตรบางแหงก็ชํารุดเสียหายดวย สถานการณดังกลาวสงผลใหการสรางภาพยนตรไทย พากยตองหยุดลงชั่วคราวไปโดยปริยาย

16 บริษัท Kodak ไดผลิตและจําหนายฟลมสีธรรมชาติ ขนาด 16 มม. สําหรับถาย ภาพยนตร ขึ้นในป พ.ศ. 2478 ในชื่อ “Kodachrome”

สำหอส มุ ดกล

4. ภาพยนตรไทยยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2515

4.1 ภาพยนตรไทยพากย 16 มม. สีธรรมชาติ ยุคฟนตัว พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2500 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในป พ.ศ. 2488 และประเทศไทยรอดพน จากการเปนประเทศแพสงคราม เพราะขบวนการเสรีไทยและการชวยเหลือของสหรัฐอเมริกา กิจการตางๆ ในประเทศไดเริ่มฟนตัวขึ้น การสรางภาพยนตรก็เริ่มฟนตัวขึ้นมาใหมดวยอัตราการ ขยายตัวที่รวดเร็วอยางเห็นไดชัด ในระยะแรก คือตั้งแตป พ.ศ. 2489 - 2492 ไดมีการสราง ภาพยนตรออกมาเฉลี่ยปละประมาณ 10 เรื่อง แตหลังจากภาพยนตรไทยพากย ฟลม 16 มม. สี

ธรรมชาติ เรื่อง “สุภาพบุรุษเสือไทย” ซึ่งสรางโดยบริษัทปรเมรุภาพยนตร อํานวยการสรางโดย แท

ประกาศวุฒิสาร กํากับการแสดงและถายภาพโดย หมอมเจาศุกรวรรณดิศ ดิศกุล พากยเสียงขณะ ฉายโดย ทิดเขียว ออกฉายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2492 และสามารถทํารายไดอยางสูง ทําใหวงการ สรางภาพยนตรไทยตื่นตัวขึ้นอีกครั้ง ดังจะเห็นไดจากในปตอมามีภาพยนตรออกฉายสูงถึง 50 เรื่อง และมีการสรางภาพยนตรพากย ฟลม 16 มม. สีธรรมชาติ ราว 50 ถึง 60 เรื่อง ติดตอกันอยูเชนนี้นาน นับ 10 ป นอกจากภาพยนตรเรื่อง “สุภาพบุรุษเสือไทย” แลว ยังมีภาพยนตรพากยที่สําคัญอื่นๆ อีก เชน “รอยไถ” (พ.ศ. 2493) สรางโดยกรุงเทพภาพยนตร “พันทายนรสิงห” (พ.ศ. 2493) สรางโดย อัศวินภาพยนตร และ “วนิดา” (พ.ศ. 2498) สรางโดยละโวภาพยนตร เปนตน

4.2 ภาพยนตรไทยมาตรฐานฟลม 35 มม. เสียงในฟลม

ในป พ.ศ. 2496 รัตน เปสตันยี ไดกอตั้งบริษัทหนุมานภาพยนตร และสรางโรงถาย ภาพยนตรเสียงแบบมาตรฐานสากลขึ้นที่ถนนวิทยุ บริษัทนี้ไดสรางภาพยนตรไทยขนาดฟลม 35 มม. เสียงในฟลม สีธรรมชาติ เรื่อง “สันติ-วีณา” ซึ่งออกฉายในป พ.ศ. 2497 และไดสงเขารวม ประกวดภาพยนตรนานาชาติแหงเอเชีย-แปซิฟก ณ กรุงโตเกียว ครั้งที่ 1 ประจําป พ.ศ. 2497 ภาพยนตรเรื่องนี้ไดรับรางวัล 3 รางวัล จากการประกวด คือ การถายภาพ การกํากับภาพศิลป และ การเผยแพรวัฒนธรรม ซึ่งนับเปนครั้งแรกที่ภาพยนตรไทยไดรับรางวัลจากการประกวดภาพยนตร

ในเวทีนานาชาติ ความสําเร็จของ “สันติ-วีณา” เปนแรงบันดาลใจสําคัญที่ทําใหผูสรางภาพยนตร

ไทย ซึ่งสรางภาพยนตรที่มีคุณภาพทั้งในดานเนื้อหาและเทคนิค หันมาสรางภาพยนตรมาตรฐาน ฟลม 35 มม. เสียงในฟลมมากขึ้น

ผลงานภาพยนตรอีกเรื่องของบริษัทหนุมานภาพยนตรคือ “โรงแรมนรก” ซึ่งเปน ภาพยนตรฟลม 35 มม. เสียงในฟลม ขาว-ดํา ที่ออกฉายในป พ.ศ. 2500 กํากับการแสดง เขียนบท ลําดับภาพ และอํานวยการสราง โดย รัตน เปสตันยี ผูถายภาพคือนายประสาท สุขุม “โรงแรมนรก”

ไดรับการยกยองวาเปนภาพยนตรไทยที่ดีที่สุดเรื่องหนึ่งในขณะนั้น นอกจากภาพยนตรที่สรางโดย บริษัทหนุมานภาพยนตรแลว บริษัทอื่นๆ ก็เริ่มหันมาสรางภาพยนตรฟลมขนาด 35 มม. เพิ่มมากขึ้น

สำหอส มุ ดกล

เชน อัศวินภาพยนตร ที่สรางเรื่อง “เรือนแพ” (พ.ศ. 2505) และละโวภาพยนตรที่สรางเรื่อง “นาง ทาส” (พ.ศ. 2503) และไดสงไปประกวดภาพยนตรที่เมืองเบอรลิน ประเทศเยอรมัน และในป พ.ศ.

2508 ไดสรางภาพยนตรเรื่อง “เงิน เงิน เงิน” การสรางภาพยนตรระบบฟลม 35 มม. มีอัตราการ สรางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ โดยหลังป พ.ศ. 2510 ปรากฏวามีภาพยนตรไทยมาตรฐาน 35 มม. เสียงใน ฟลมถูกสรางเพิ่มมากขึ้น โดยเฉลี่ยปละ 3 ถึง 4 เรื่อง ซึ่งมากกวาเดิมที่มีเพียงปละสองสามเรื่อง เทานั้น

4.3 ภาพยนตรไทยพากย 16 มม. สีธรรมชาติ ยุคเฟองฟู พ.ศ. 2500 - 2515

ระหวางป พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2515 เปนยุคที่วงการสรางภาพยนตรไทยพากยขนาด ฟลม 16 มม. เฟองฟูมาก ผูสรางภาพยนตรจํานวนมากมุงสรางรายไดมากกวาคํานึงถึงการสราง ภาพยนตรอยางมีศิลปะ โดยทั่วไปมักสรางภาพยนตรแบบ “เอาใจตลาด” หรือตามกระแสนิยม เมื่อ เห็นวาภาพยนตรเรื่องหนึ่งประสบความสําเร็จอยางสูง ก็มักจะสรางภาพยนตรที่มีเนื้อหาหรือแนว เดียวกับภาพยนตรเรื่องนั้นเปนการเลียนแบบ เชน ในป พ.ศ. 2500 บริษัทสหนาวีไทย ไดสราง ภาพยนตรเรื่อง “เล็บครุฑ” จากบทประพันธของพนมเทียน ซึ่งกํากับการแสดงโดย สุพรรณ พราหมณพันธ ภาพยนตรเรื่องนี้ใชเงินลงทุนสรางเพียง 4 แสนบาท แตสามารถทํารายไดสูงถึงหนึ่ง ลานเกาแสนบาท ความสําเร็จของภาพยนตรเรื่องนี้ทําใหมีการสรางภาพยนตรประเภทนี้ตามมาอีก หลายเรื่อง เชน “เหยี่ยวราตรี” (พ.ศ. 2501) โดยนําโครงเรื่องมาจากนิยายประเภทอาชญากรรม ซึ่ง ตีพิมพในนิตยสารบางกอกรายสัปดาหของ ส. เนาวราช (สนิท โกศะรถ) และ “อินทรียแดง” (พ.ศ.

2502) ซึ่งนําโครงเรื่องมาจากนวนิยายประเภทอาชญากรรมของ เศก ดุสิต เปนตน นอกจากนั้นยังมี

การแสวงหาบทประพันธหรือนวนิยายที่โดงดังมาจากละครวิทยุมาดัดแปลงสรางเปนภาพยนตร

สวนใหญมักเปนเรื่องรักๆ ใครๆ หรือแนวชีวิตโศกเศราเคลาน้ําตาประเภท “น้ําเนา” เชน เรื่อง

“สลักจิตร” ที่โดงดังมาจากละครวิทยุของคณะแกวฟา ภาพยนตรแนวนี้ผูสรางมักจะรีบสรางแบบ สุกเอาเผากินโดยไมคํานึงถึงคุณภาพเพื่อใหออกฉายทันตามความนิยม ดวยเหตุนี้ภาพยนตรเหลานี้

สวนใหญจึงมักดอยคุณภาพ สูตรสําเร็จของภาพยนตรประเภทนี้ คือ เนนการเลือกใชดารายอดนิยม เครื่องแตงกายตองดูหรูหราราคาแพง เรื่องราวคอนขางเพอฝน พระเอกเกง นางเอกแกน แตไร

เดียงสา ดารายอดนิยมในภาพยนตรประเภทนี้ คือ มิตร ชัยบัญชา ซึ่งมักแสดงคูกับ เพชรา เชาว ราษฎร ทั้งคูเริ่มแสดงภาพยนตรคูกันครั้งแรกในเรื่อง “บันทึกรักพิมพฉวี” เมื่อ พ.ศ. 2505 ความสําเร็จของภาพยนตรเรื่องนี้ทําให มิตร-เพชรา กลายเปนดาราคูขวัญในเวลาตอมา นักแสดงนํา คนอื่นๆ ที่ไดรับความนิยมรองลงมา เชน สมบัติ เมทะนี พิสมัย วิไลศักดิ์ อรัญญา นามวงศ และ ภาวนา ชนะจิต เปนตน

สำหอส มุ ดกล