• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะห์ข้อมูล

สารบัญภาพประกอบ

ตาราง 4 จ านวนเอกสารและงานวิจัยที่จะท าการสังเคราะห์

5. การวิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเคราะห์เอกสาร ต ารา บทความวิชาการ รายงานวิจัยทั้งใน และต่างประเทศและจากการสัมภาษณ์โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)

6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ

หาความเที่ยงตรงของแบบสัมภาษณ์จากการน าผลการตอบของผู้เชี่ยวชาญมาหา ค่าเฉลี่ย (ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2561) โดยใช้สูตรดังนี้

IOC=

NR

เมื่อ IOC แทน ค่าดัชนีความสอดคล้อง

R แทน ผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญ

ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาส าหรับครูระดับ มัธยมศึกษา

ขั้นตอนนี้เป็นการสร้างรูปแบบและคู่มือการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาส าหรับครูระดับมัธยมศึกษา และศึกษาผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไป ได้ของร่างรูปแบบการประเมินและผลการประเมินความเหมาะสมของคู่มือการใช้รูปแบบการประเมิน ก่อนน าไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง

1. กลุ่มเป้าหมาย

1.1 ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่าง รูปแบบการประเมินโดยการสนทนากลุ่ม (Focus group) จ านวน 7 ท่าน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive sampling) จากคุณสมบัติที่ก าหนดไว้ดังนี้

1.1.1 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยและประเมินผลการศึกษา 1) เป็นอาจารย์ที่ท าการสอนในระดับอุดมศึกษา

178 2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป

3) มีประสบการณ์สอนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป

4) มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอน 5) ยินดีให้สัมภาษณ์ด้วยความเต็มใจ

1.1.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

1) เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2) เป็นผู้มีประสบการณ์ในการเป็นวิทยากรบรรยาย อบรมและนิเทศการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

3) ยินดีให้สัมภาษณ์ด้วยความเต็มใจ

1.1.3 ครูผู้สอนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 1) เป็นครูผู้สอนในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษา

2) เป็นครูผู้สอนที่ได้รับรางวัลการสอนสะเต็มศึกษาระดับประเทศ 3) มีประสบการณ์สอนสะเต็มศึกษาตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป

4) มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 5) ยินดีให้สัมภาษณ์ด้วยความเต็มใจ

1.2 ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการตรวจสอบความเหมาะสมของคู่มือการประเมินในการน าไปใช้

ประเมินจริง จ านวน 5 ท่าน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จาก คุณสมบัติที่ก าหนดไว้ดังนี้ ประกอบด้วย

1.2.1 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 1) เป็นอาจารย์ที่ท าการสอนในระดับอุดมศึกษา

2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป 3) มีประสบการณ์สอนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป

4) มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอน 5) ยินดีให้ข้อมูลด้วยความเต็มใจ

1.2.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านวิจัยและประเมินผลการศึกษา 1) เป็นอาจารย์ที่ท าการสอนในระดับอุดมศึกษา

2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป 3) มีประสบการณ์สอนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป

4) มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอน 5) ยินดีให้ข้อมูลด้วยความเต็มใจ

179 2. การด าเนินการวิจัย

ผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนการด าเนินการวิจัยดังนี้

2.1 ยกร่างรูปแบบการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2.2 ยกร่างคู่มือการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้

2.1 ยกร่างรูปแบบการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2.1.1 ด าเนินการร่างรูปแบบการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาจากการสังเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศที่ได้จากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและจากการ สัมภาษณ์ในระยะที่ 1

2.1.2 น าร่างรูปแบบการประเมินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ที่สร้างขึ้น ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการประเมิน การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยใช้การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิ

ที่ใช้ในการสนทนากลุ่มมีจ านวน 7 ท่าน ดังนี้

1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เนตรชนก จันทร์สว่าง อาจารย์ประจ าภาควิชา เคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เชี่ยวชาญด้านการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล วรค า อาจารย์ประจ าภาควิชาวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เชี่ยวชาญด้านวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา

3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา ปัญญา อาจารย์ประจ าภาควิชาวิจัย และประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เชี่ยวชาญด้านวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา

4) ศน.อาทิตย์ กลั่นกสิกรณ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ ส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา

5) ผอ.ประพันธ์ ขันโมลี ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ โรงเรียนผดุงนารี

อ าเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา

6) คุณครูจิราภรณ์ เตชะนอก ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนขอนแก่น วิทยายน อ าเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา

180 7) คุณครูเดือนเพ็ญ ธรรมพิทักษ์ ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนขอนแก่น วิทยายน อ าเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา

ผู้วิจัยได้ก าหนดขั้นตอนการสนทนากลุ่ม มีดังนี้ (ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2561) 1. การจัดสนทนากลุ่ม

1.1 ก าหนดวัตถุประสงค์ของการสนทนากลุ่มที่ชัดเจน

1.2 ก าหนดคุณสมบัติกลุ่มเป้าหมาย คัดเลือกผู้เข้าร่วมกลุ่มสนทนา 1.3 ก าหนดวัน เวลา สถานที่ และจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จ าเป็นใน การสนทนากลุ่ม

1.4 ประสานงานนัดหมายผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม

1.5 ซักซ้อมความเข้าใจกับผู้ด าเนินการสนทนา (Moderator) และผู้จดบันทึก (Note taker)

1.6 ด าเนินการสนทนากลุ่ม

1.7 วิเคราะห์และสรุปผลการสนทนากลุ่ม 2. การด าเนินการสนทนากลุ่ม

2.1 แนะน าตนเองและทีมงาน ประกอบด้วยผู้ด าเนินการสนทนา ผู้จดบันทึก และผู้บริการทั่วไป

2.2 ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสนทนากลุ่ม

2.3 เริ่มต้นด้วยค าถาม ประเด็นที่สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง

2.4 ด าเนินการสนทนาตามประเด็นที่ได้จัดเตรียมไว้ก่อนหน้านี้ โดยสร้าง บรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กระตุ้นให้ผู้ร่วมสนทนาได้แสดงความคิดเห็นทุกคน หากมีข้อโต้แย้งต้องใช้ความสามารถในการลดข้อพิพาท และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้วยเหตุและผล กรณีที่บางประเด็นใช้เวลาในการสนทนานานเกินไปควรตัดบทและหาข้อสรุปร่วมในประเด็นนั้นๆ

2.5 สรุปผลการสนทนากลุ่ม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มได้ท าการ ตรวจสอบและเกิดฉันทามติ

ซึ่งรายละเอียดขั้นตอนการด าเนินการสนทนากลุ่ม ปรากฏดังนี้

การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการประเมินด้วย เทคนิคการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จัดขึ้นเมื่อวันที่

13 พฤศจิกายน 2562 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้อง 5309 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วม จ านวน 7 ท่าน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา จ านวน 2 ท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

181 จ านวน 3 ท่านและผู้รับผิดชอบหรือครูที่จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา จ านวน 2 คน โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ญาณภัทร สีหะมงคล เป็นผู้ด าเนินการสนทนากลุ่มและผู้วิจัยท าหน้าที่

เป็นผู้จดบันทึก รายละเอียดเป็นดังนี้

1. เริ่มการสนทนาโดยกล่าวต้อนรับ แสดงความขอบคุณที่ให้ความร่วมมือชี้แจง เหตุผลและวัตถุประสงค์ในการเชิญเข้าร่วมสนทนาในครั้งนี้ แนะน าตัวผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์

2. แนะน าผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมการสนทนากลุ่ม (แนะน า ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง หน้าที่รับผิดชอบและหน่วยงานที่สังกัด)

3. อธิบายให้ผู้เข้าร่วมสนทนาเข้าใจถึงการพูดคุยและการซักถามขอให้แสดง ความคิดเห็นอย่างเต็มที่ด้วยข้อมูลที่เป็นจริงเพราะความคิดเห็นจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาส าหรับครูระดับมัธยมศึกษา

ผู้วิจัยก าหนดประเด็นการสนทนากลุ่ม ดังนี้