• Tidak ada hasil yang ditemukan

วัตถุประสงค์การด าเนินงาน

สารบัญภาพประกอบ

3. การวิจัยเชิงส ารวจ

2.1 วัตถุประสงค์การด าเนินงาน

การด าเนินงานในขั้นตอนที่ 2 นี้ มีวัตถุประสงค์ส าคัญเพื่อที่จะ ออกแบบด าเนินการสร้างและประเมินหรือตรวจสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างขึ้น จนกระทั่ง นวัตกรรมมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก าหนด ก่อนที่จะน านวัตกรรมไปขยายผลทดลองใช้ใน

ขั้นตอนที่ 3 ต่อไป ทั้งนี้ การที่จะออกแบบสร้างและประเมินนวัตกรรมการศึกษานั้นก็ต้องอาศัยข้อมูล ที่ได้จากการด าเนินงานใน ขั้นตอนที่ 1 ที่ผ่านมา

139 2.2 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา

ก่อนที่จะด าเนินการออกแบบและสร้างนวัตกรรมการศึกษานั้น จ าเป็นต้องทราบก่อนว่านวัตกรรมการศึกษาที่ส าคัญ ๆ นั้นมีอะไรบ้าง นวัตกรรมการศึกษา แต่ละประเภทที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ แม้ว่านวัตกรรมบางประเภทอาจจะดูเสมือนว่า “ไม่ใหม่”

หรือไม่สอดคล้องกับชื่อที่เรียกว่า “นวัตกรรม” ตามรากศัพท์ แต่เมื่อพิจารณาจากมุมมองของ เปรื่อง กุมุท (2519 อ้างอิงมาจาก บุญเกื้อ ควรหาเวช, 2542) ที่ว่าสิ่งใดจะจัดว่าเป็น “นวัตกรรม”

หรือไม่นั้นจะมีลักษณะใดลักษณะ 1 ใน 5 ลักษณะ ก็กล่าวได้ว่าทั้งหมดที่น าเสนอนี้ก็จัดเป็นนวัตกรรม การศึกษาทั้งสิ้น เกณฑ์การพิจารณา คุณลักษณะนวัตกรรมที่กล่าวนี้ ได้แก่

1. ความคิดหรือการกระท าใหม่นั้นอาจจะเป็นสิ่งเก่าในที่อื่นๆ ที่ใด ที่หนึ่งมาแล้ว แต่เพิ่งน ามาใช้และใช้ได้ดีในที่แห่งนี้

2. ความคิดหรือการกระท าใหม่นั้นครั้งหนึ่งเคยมีการน ามาใช้ในที่

แห่งนี้แต่ไม่ประสบความส าเร็จอันเนื่องมาจากขาดความพร้อมพื้นฐานบางอย่าง แต่ในเวลานี้ที่แห่งนี้มี

ความพร้อมพื้นฐานที่กล่าวครบถ้วน การน าความคิดหรือการกระท าใหม่นั้นมาใช้ในปัจจุบันก็กล่าวได้

ว่าเป็นนวัตกรรม ด้วยเช่นกัน

3. ความคิดหรือการกระท าใหม่นั้นเป็นเพราะมีสิ่งใหม่ๆ เข้ามา พร้อมกับการที่จะกระท าบางอย่างทางการศึกษาในขณะนั้น โดยสิ่งใหม่ ๆ ดังกล่าวน ามาใช้และ มุ่งหวังว่าจะก่อให้เกิดการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาทางการศึกษานั้น

4. ความคิดหรือการกระท าใหม่นั้น ครั้งหนึ่งเมื่อมีการน ามาใช้หรือ คิดว่าจะใช้ แต่ได้รับการ ต่อต้าน ขัดขวางจากผู้ร่วมงาน โดยเฉพาะจากผู้บริหาร หน่วยงาน องค์กรที่มี

เจตคติทางลบต่อสิ่งนั้น ครั้นเมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้บริหาร และผู้บริหารคนใหม่ให้การสนับสนุน เล็งเห็นความส าคัญให้น ามาใช้ในหน่วยงาน ความคิดหรือการกระท าที่กล่าวนี้ก็จัดเป็นนวัตกรรมด้วย เช่นกัน

5. ความคิดหรือการกระท าใหม่นั้น เป็นสิ่งที่ไม่เคยมีใครคิดและ กระท ามาก่อนเลยในโลกนี้ (ซึ่งหาพบได้ยาก)

จากคุณลักษณะที่เป็นเกณฑ์บ่งบอกความเป็นนวัตกรรมการศึกษาที่กล่าวมา นั้น จึงขอน าเสนอนวัตกรรมการศึกษาที่ครอบคลุมทั้งที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาประเภทรูปธรรม (วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์) และที่เป็นนามธรรม (รูปแบบ ทฤษฎี วิธีการ กลยุทธ์) บางส่วน ดังต่อไปนี้

1. หลักสูตร (Curriculum)

หลักสูตร หมายถึง เอกสารที่ครอบคลุมมวลวิชาเนื้อหาสาระใด ๆ ที่ทางสถาบันการศึกษาจัดเตรียมไว้เป็นแผน หรือโปรแกรมการเรียนตามล าดับส าหรับให้ผู้เรียนได้

เรียนรู้ ก่อนที่จะส าเร็จการศึกษาในระดับการศึกษาหนึ่ง ๆ ความหมายหลักสูตรในที่นี้จึงมุ่งหมายถึง

140 หลักสูตรที่จัดท าเป็นเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือก ากับแนวทางการจัดการศึกษา ในแต่ละ ระดับการศึกษา

2. บทเรียนมอดูล (Instructional module)

บทเรียนมอดูลจัดเป็นสื่อการเรียนชนิดหนึ่งที่จัดท าขึ้น เพื่อมุ่งให้

นักเรียนเป็นผู้ใช้ด้วยตนเอง บทเรียนมอดูลหนึ่ง ๆ จะเป็นหน่วยการเรียนที่มีเนื้อหาจบในตัวเอง ในบทเรียนมอดูลจะประกอบด้วยสื่อการเรียนอย่างหลากหลาย เพื่อจะให้ผู้เรียนเลือกกระท าหรือใช้ได้

ตามความถนัดและความสนใจของแต่ละคน นอกจากนั้นในบทเรียนมอดูลก็ยังต้องมีส่วนอื่นประกอบ อีก เช่น แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นต้น โดยทั่วไปบทเรียนมอดูลมักจัดท าเป็นเอกสาร สิ่งพิมพ์หรือท าเป็นหนังสือเล่มเล็ก ๆ

3. ชุดการสอน (Instructional package)

ชุดการสอนบางครั้งก็เรียกว่า ชุดการเรียน (Learning package) จัดเป็นสื่อการเรียนการสอนชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเป็นสื่อประสม (Multimedia) ที่ประกอบด้วยสื่อ ตั้งแต่ 2 ชนิด ร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่ก าหนดไว้ ในหน่วยการเรียน แต่ละหน่วย สื่อดังกล่าวนี้จะจัดไว้เป็นชุด ๆ บรรจุอยู่ในซองหรือในกระเป๋า ชุดการสอนเป็นสื่อที่

จัดท าขึ้นส าหรับครูใช้ประกอบการสอนและให้ผู้เรียนใช้ประกอบการเรียนเป็นรายบุคคลได้อีกด้วย 4. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instructional) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อการเรียนการสอนชนิดหนึ่งที่พัฒนาขึ้น บนพื้นฐานแนวคิดการตอบสนองการเรียนรู้ของบุคคลเป็นรายบุคคล ตามความแตกต่างระหว่าง บุคคลและอาศัยหลักการเสริมแรงของนักจิตวิทยา สกินเนอร์ (Skinner) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด แรงจูงใจในการเรียนหรือปฏิบัติกิจกรรมตามที่ก าหนดไว้โดยใช้ภาพกราฟิก ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนเสียงที่บันทึกไว้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสื่อสารกับผู้เรียนหรือผู้เรียน ท ากิจกรรมต่าง ๆ โดยสื่อสารกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์

5. โรงเรียนไร้ชั้นเรียน (Non Graded School)

โรงเรียนไร้ชั้นเรียนหรือการจัดโรงเรียนแบบไม่แบ่งชั้นเรียนนี้จัดว่าเป็น นวัตกรรมการศึกษาประเภทที่เรียกว่า เทคนิควิธีการหรือการกระท าใหม่ ๆ ทางการศึกษา โดยมี

พื้นฐานแนวความคิดที่ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนเกี่ยวกับความสามารถและ ความสนใจในการเรียน ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนต้องตอบสนองหรือสอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียนดังกล่าวมากกว่าจะจัดให้ผู้เรียนได้เรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งไปพร้อม ๆ กัน และจัดเป็นชั้นเรียนเดียวกันอยู่ในห้องเดียวกัน แม้ว่าผู้เรียนบางคนหรือหลาย ๆ คนจะแตกต่างกัน เป็นอย่างมากทั้งด้านความพร้อมในการเรียน แรงจูงใจและพื้นฐานความรู้เดิมก่อนเรียน เป็นต้น

141 6. การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์อาจจะมีผู้ให้ความหมายไว้ต่างกัน

แต่ไม่ว่าจะให้ความหมายอย่างไรก็ตาม การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์จะมีได้ก็ต้องอาศัยคอมพิวเตอร์และ ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) ประกอบกัน ดังนั้น การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นการจัดท าสื่อ การเรียนชนิดต่าง ๆ โดยอาศัยวิทยาการคอมพิวเตอร์จัดท าเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์และอาศัย

ช่องทางการส่งผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน โดยที่ผู้เรียนสามารถที่จะเรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ๆ จากสื่อการเรียนอิเล็กทรอนิกส์และการซักถาม โต้ตอบกับผู้สอนอ่านระบบอินเทอร์เน็ต ด้วยเหตุนี้การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นวิธีการเรียนที่

ผู้เรียนสามารถจะเรียนที่ไหน เมื่อไรก็ได้ขอให้สามารถใช้ช่องทางติดต่อทางอินเทอร์เน็ตได้

2.3 เทคนิควิธีด าเนินการออกแบบสร้างและประเมินนวัตกรรมการศึกษา การออกแบบสร้างและประเมินนวัตกรรมการศึกษามีเทคนิควิธีการ ตามล าดับขั้นตอนต่อไปนี้

ขั้นที่ 1 จัดล าดับ ก าหนดปัญหาและความต้องการพัฒนานวัตกรรม จากได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาการด าเนินงาน บางการศึกษาในเรื่องที่ท าการศึกษา ในขั้นตอนที่ 1 เช่น สภาพปัจจุบันและปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่ต่ ากว่า เกณฑ์การทดสอบระดับชาติ (National Test : NT) สภาพปัจจุบันและปัญหาเกี่ยวกับการจัดการ เรียนการสอนที่ครูยังใช้วิธีสอนแบบดั้งเดิม สภาพปัจจุบันและปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ชุมชนและโรงเรียน เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วก็อาจจะยังประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ ของสถานศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาหรือแก้ปัญหาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง ข้อมูลทั้งหมดเหล่านี้จ าเป็นต้องน ามาประมวลสังเคราะห์เข้าด้วยกัน และจัดล าดับปัญหา ความต้องการเร่งด่วนในการแก้ไข และพัฒนางานประจ า การก าหนดล าดับความส าคัญของปัญหา และความต้องการในการแก้ไขหรือพัฒนานั้น อาจพิจารณาจากความถี่ของผู้ตอบหรือการหาค่าเฉลี่ย ของค าตอบหลังจากนั้นจึงค่อยท าการจัดล าดับค่าเฉลี่ยเรียงจากมากไปน้อย โดยค่าเฉลี่ยใดมากก็ควร จะได้รับการพิจารณาน ามาเป็นปัญหาหรือความต้องการพัฒนาก่อน

ขั้นที่ 2 ตัดสินใจเลือกและออกแบบนวัตกรรมเมื่อเลือกปัญหาและ ความต้องการที่จะแก้ไขหรือพัฒนางานทางการศึกษาเรื่องใดแล้ว ก็จะต้องตัดสินใจว่าจะเลือก นวัตกรรมการศึกษาประเภทใด เพื่อใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานการศึกษานั้น ๆ โดยศึกษา ท าความเข้าใจจุดดี จุดด้อย ตลอดจนลักษณะหรือธรรมชาติของนวัตกรรมดังกล่าว เมื่อตัดสินใจ เลือกใช้นวัตกรรมใดแล้วก็เป็นการออกแบบนวัตกรรมนั้นโดยค านึงถึงองค์ประกอบที่ส าคัญ ๆ ของนวัตกรรมว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง แล้วจึงเขียนหรือจัดท าเป็นภาพร่างของนวัตกรรม ปานประหนึ่งการสเก็ตช์ภาพแบบเสื้อหรือสิ่งของเครื่องใช้อื่น ๆ

142 ขั้นที่ 3 สร้างนวัตกรรม ขั้นนี้เป็นการลงมือจัดท ารายละเอียด นวัตกรรมตามองค์ประกอบแต่ละส่วนตามที่จัดท าเป็นภาพร่างไว้ก่อนหน้านั้น ทั้งนี้การเพิ่มเติมลง รายละเอียดของนวัตกรรมอาจท าได้ 2 วิธี ขึ้นอยู่กับประเภทนวัตกรรมและความรู้ความสามารถของ นักวิจัยเอง ดังนี้

1. กรณีนักวิจัยเป็นผู้พัฒนาด้วยตนเอง นวัตกรรมบางประเภท นักวิจัยอาจจะมีความสามารถจัดสร้างหรือเขียนขึ้นด้วยตนเอง เช่น ชุดการสอน บทเรียนมอดูล แบบฝึกหรือหนังสืออ่านประกอบ กรณีเช่นนี้นักวิจัยเพียงแต่ศึกษาเอกสารต ารา สอบถามผู้รู้

และตัวอย่างที่เป็นของจริง ประกอบก็สามารถเขียนรายละเอียดแต่ละส่วนตามที่ต้องการได้

2. กรณีอาศัยผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะนวัตกรรมบางประเภท อาจจ าเป็นต้องใช้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะ ช่วยสร้างให้นักวิจัยเพียงแต่เป็นผู้ระบุวัตถุประสงค์

หรือเนื้อหาสาระที่ต้องการให้ปรากฏให้อยู่ในนวัตกรรมนั้น นวัตกรรมประเภทนี้ ได้แก่ คอมพิวเตอร์

ช่วยสอน การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายท าวีดิทัศน์หรือภาพยนตร์ประกอบการเรียน จะเห็น นวัตกรรมที่กล่าวจ าเป็นต้องอาศัยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และ การถ่ายภาพยนตร์โดยตรงเท่านั้น ดังนั้นในการสร้างนวัตกรรมประเภทนี้นักวิจัยจึงต้องมีการ ประสานงาน จ้างงาน ติดต่อและพูดคุย

ขั้นที่ 4 ประเมินนวัตกรรม เมื่อสร้างนวัตกรรมการศึกษาเสร็จแล้ว ก็จะเป็นการประเมินนวัตกรรมที่สร้างขึ้นว่ามีความสอดคล้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

และมีประสิทธิผลเพียงไร ซึ่งในการประเมินนวัตกรรมนี้สามารถจ าแนกได้ ดังนี้

1. การประเมินความสอดคล้องของนวัตกรรม การประเมินส่วน นี้เพื่อพิจารณาว่าองค์ประกอบของนวัตกรรมแต่ละส่วนมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันหรือไม่

หรือมีความเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกันเพียงไร เช่น การประเมินความสอดคล้ององค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตร อันได้แก่ 1) ปรัชญาหรือหลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหาสาระ 4) แนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน และ 5) การวัดและประเมินผล โดยประเมินว่าองค์ประกอบทั้ง 5 ส่วนนี้

สัมพันธ์กันเพียงไร ทั้งนี้การประเมินความสอดคล้องของนวัตกรรมสามารถกระท าได้ 2 วิธีตามล าดับ ได้แก่

1.1 กรอบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framework Relation) การประเมินหรือตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบนวัตกรรมโดยใช้กรอบเหตุผลสัมพันธ์เป็น การประยุกต์ใช้แนวคิดของการเขียนโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ที่ใช้ส าหรับตรวจสอบโครงการที่

เขียนขึ้นว่ามีความสอดคล้องกันในแต่ละส่วนของโครงการหรือไม่อย่างไร (รัตนะ บัวสนธ์, 2540) โดยอาศัยการตั้งค าถามเชิงเหตุผลว่า “อย่างไร (How)” และ “ท าไม (Why)” การน ากรอบเหตุผล สัมพันธ์ มาตรวจสอบความสอดคล้องของนวัตกรรมก็กระท าได้โดยการตั้งค าถามว่า “อย่างไร” และ