• Tidak ada hasil yang ditemukan

ด าเนินการสนทนากลุ่ม

สารบัญภาพประกอบ

6. ด าเนินการสนทนากลุ่ม

7. วิเคราะห์และสรุปผลการสนทนากลุ่ม การด าเนินงานการสนทนากลุ่ม

1. แนะน าตนเองและทีมงาน ประกอบด้วยผู้ด าเนินการสนทนา ผู้จดบันทึก และผู้บริการทั่วไป

2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสนทนากลุ่ม

3. เริ่มต้นด้วยค าถามหรือประเด็นที่สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง 4. ด าเนินการสนทนาตามประเด็นที่ได้จัดเตรียมไว้ก่อนหน้า โดยสร้างบรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กระตุ้นให้ผู้ร่วมสนทนากลุ่มได้แสดงความ คิดเห็นทุกคน หากมีข้อโต้แย้งต้องใช้ความสามารถในการลดข้อพิพาทและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ด้วยเหตุและผล กรณีที่บางประเด็นใช้เวลาในการสนทนานานเกินไปควรตัดบทและหาข้อสรุปร่วม ในประเด็นนั้น ๆ

5. สรุปผลการสนทนากลุ่ม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มได้ท า การตรวจสอบและเกิดฉันทามติ

ในการด าเนินงานในส่วนนี้ถือว่ามีความส าคัญและเกิดประโยชน์

เพราะเป็นขั้นตอนที่จะท าให้ได้ข้อมูลส าคัญในการสร้างและพัฒนานวัตกรรมที่มีคุณภาพ จึงจ าเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องมีการสนทนากลุ่มในประเด็นส าคัญต่าง ๆ ซึ่งการที่ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ก็จะท าให้เกิดความหลากหลาย รอบคอบ รัดกุม โดยการใช้วิธีการสนทนากลุ่มในขั้นตอนนี้มักจะเน้น การสนทนาเพื่อให้ได้แนวทางการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ซึ่งจะมีประโยชน์มากในขั้นตอนถัดไป อนึ่ง หากมีกลุ่มหลายกลุ่มและแต่ละกลุ่มก็มีลักษณะที่เป็นวิวิธพันธ์ (Heterogeneous) และ แต่ละกลุ่มล้วนมีความส าคัญในการให้ข้อมูลที่เกิดประโยชน์ นักวิจัยสามารถด าเนินการสนทนากลุ่ม แยกในแต่ละกลุ่มแล้วจึงน ามติของแต่ละกลุ่มมาอภิปรายอีกครั้งก็ได้ ซึ่งเทคนิคดังกล่าวมักใช้การ ด าเนินการที่เรียกว่า การหาฉันทามติแบบ “พหุคุณลักษณะ (MACR : Multi Attribute Consensus Reaching) ก็ได้

4. การศึกษาจากแบบปฏิบัติที่ดี (Best practice)

การด าเนินงานด้วยวิธีนี้จะเน้นการศึกษาจากหน่วยงานหรือองค์กรที่ประสบ ความส าเร็จหรือมีแบบปฏิบัติที่ดี โดย ราชบัณฑิตยสถาน (2555) ได้ให้ความหมาย แบบปฏิบัติที่ดีว่า หมายถึง การด าเนินงานหรือการท าภารกิจโดยมีรูปแบบวิธีการที่ชัดเจน บรรลุผลส าเร็จตาม

วัตถุประสงค์ และเป็นตัวอย่างที่ดีในการน ามาปรับใช้ ซึ่งจะช่วยให้ได้ข้อมูลที่น าไปสู่การพัฒนาแบบ

113 ก้าวกระโดดหรือทางลัด (Fast-track) ซึ่งหมายถึง ทางที่เร็วที่สุดและสั้นที่สุดในการบรรลุเป้าหมาย (ราชบัณฑิตยสถาน, 2555) ดังนั้น การด าเนินการโดยการศึกษาจากแบบปฏิบัติที่ดีก็จะท าให้ได้ข้อมูล ที่มีความเป็นไปได้ในการที่จะน าไปใช้ในการออกแบบ วางแผน สร้างและพัฒนาได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ ไม่ใช่เป็นการลองผิดลองถูก ซึ่งอาจใช้เวลานานในการพัฒนา คูมาร์, วีเจ (2558) กล่าวว่า แหล่งข้อมูลนวัตกรรมเป็นการรวบรวมข้อมูลเชิงโครงสร้างที่รวมเอาวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practice) ของนวัตกรรมที่ประสบความส าเร็จน ามาใช้เป็นแหล่งอ้างอิงตลอดกระบวนการสร้าง นวัตกรรม

การด าเนินงาน

ในบริบททางการศึกษาโดยเฉพาะหน่วยงาน องค์กรภาครัฐมักจะเป็น

หน่วยงาน องค์กร ที่ไม่มุ่งแสวงหาก าไรจึงมักจะให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการจะเรียนรู้ หากแต่ไม่สามารถ ที่จะน าไปใช้ได้ทั้งหมด จะต้องประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบทนั้น ๆ ดังนั้นการด าเนินการส่วนใหญ่มักใช้

การศึกษาดูงาน เพื่อเรียนรู้และค้นหาปัจจัยความส าเร็จ (Key Success Factors) การด าเนินการนี้

จะมีประสิทธิภาพมากหากมีข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน สภาพที่ควรจะเป็น ล าดับความต้องการ จ าเป็นในการพัฒนา เพราะจะท าให้มีข้อมูลในการศึกษาดูงานว่าจะไปศึกษาหน่วยงาน องค์กรใด ซึ่งควรจะสอดคล้องตามความต้องการจ าเป็นที่เร่งด่วนในหน่วยงานน าองค์กรที่ต้องการพัฒนานั่นเอง

หลักการศึกษาดูงาน

การศึกษาดูงาน เป็นการศึกษาเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่นหรือองค์กร อื่นที่มีแบบปฏิบัติที่ดีที่สอดคล้องกับประเด็นที่ต้องการพัฒนา โดยการเข้าไปศึกษาในสถานที่จริง ในการปฏิบัติงานจริงเป็นวิธีการส าคัญในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกิดประโยชน์

ขั้นตอนการศึกษาดูงาน

1. วิเคราะห์หน่วยงาน องค์กรหรือบริบทที่ต้องการพัฒนา (รู้เรา) ขั้นตอนนี้

เป็นขั้นตอนที่ส าคัญ เพราะก่อนที่จะไปศึกษาดูงานจะต้องรู้ว่าอะไรคือ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือจุดที่ต้อง พัฒนาอย่างเร่งด่วน ดังนั้นในส่วนนี้สามารถใช้ข้อมูลจากการส ารวจและวิเคราะห์ความต้องการจ าเป็น มาก่อน หรืออาจใช้ วิธีการอื่น เช่น SWOT (คูมาร์, วีเจ, 2558) ได้กล่าวถึง การวิเคราะห์ SWOT ว่า เป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมมาหลายทศวรรษ ใช้ในการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ อุปสรรคขององค์กร การวิเคราะห์นี้จะเริ่มจากการศึกษารูปแบบวัฒนธรรมและนวัตกรรมขององค์กร แล้วหาความสัมพันธ์ที่องค์กรเรามีต่อองค์กรอื่น ๆ ทั้งในด้านจุดแข็งและจุดอ่อนเทียบกับองค์กรอื่น รวมถึงโอกาสและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น โดยสองสิ่งแรกจะเป็นการประเมินจากในองค์กร ส่วนสองสิ่ง หลังจะเป็นการประเมินที่เกิดจากปัจจัยภายนอก เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาว่าวัตถุประสงค์ที่เราตั้ง ไว้นั้นมีโอกาสส าเร็จหรือไม่ เนื่องจากการประเมินโดยใช้ SWOT เป็นวิธีที่ง่ายและรวดเร็ว ดังนั้น จึงมักถูกเลือกใช้เป็นวิธีแรก ๆ ในการประเมินองค์กร โดยมีขั้นตอนในการด าเนินการ ดังนี้

114 1.1 ระบุเจตนาเริ่มต้นในการท านวัตกรรม

ระบุวัตถุประสงค์พื้นฐานที่ต้องการใช้เป็นจุดเริ่มต้นของนวัตกรรมและ ชัดเจนถึงเหตุผลหรือความจ าเป็นที่ต้องท าด้วยวิธีการใด ๆ คิดถึงประโยชน์ที่พึงได้จากการท างาน ครั้งนี้

1.2 ประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและความเสี่ยงขององค์กร จุดแข็ง อะไรคือนวัตกรรมขององค์กรที่แข็งแกร่ง หรือโดดเด่นกว่า คู่แข่งใน อุตสาหกรรม อะไรคือความสามารถหลักขององค์กร (เช่น เทคโนโลยี กระบวนการ พนักงาน แบรนด์ ประสบการณ์ผู้บริโภค ฯลฯ)

จุดอ่อน อะไรคือแง่มุมที่คอยขัดขวางไม่ให้นวัตกรรมประสบ ความส าเร็จ (เช่น เงินทุนจ ากัด เทคโนโลยีที่ขาดการทดสอบ ห่วงโซ่อุปทานที่ขาดความน่าเชื่อถือ) และจุดอ่อนคอยฉุดรั้ง ให้ตามหลังคู่แข่ง

โอกาส อะไรจะเกิดขึ้นหากตลาดตอบรับต่อนวัตกรรมที่ประสบ ความส าเร็จ ช่องว่างในตลาดใดที่ควรเติมเต็มและสร้างความเป็นไปได้ทางธุรกิจและตั้งค าถามว่า ท าไมช่องว่างนี้ถึงยังไม่มีใครให้ความส าคัญ

อุปสรรค อะไรคืออุปสรรคจากภายนอกที่ขัดขวางนวัตกรรมของ องค์กรพิจารณาว่าองค์ประกอบใดจะช่วยป้องกันเราจากอุปสรรคได้ และพิจารณาถึงลักษณะ การแข่งขันของธุรกิจในปัจจุบันด้วย

1.3 สร้างตาราง SWOT ขนาด 2 x 2 ช่อง

สรุปข้อมูลที่วิเคราะห์ในแต่ละหัวข้อของ SWOT น ามาเรียงล าดับใน ตาราง 4 ช่อง แต่ละช่องพยายามอย่าให้มีหัวข้อเกิน 7-8 ข้อ

1.4 ทบทวน พูดคุยในสิ่งที่พบและวิเคราะห์ตาราง SWOT ชักชวนทีมงานมาพูดในสิ่งที่พบและพยายามตั้งค าถามเพื่อการ วิเคราะห์ เช่น เราพอที่จะหาโอกาสในการด าเนินการได้หรือไม่ การท านวัตกรรมนั้นคุ้มค่าต่อการ ลงทุนหรือไม่ จุดแข็งที่องค์กรมีสามารถกลบจุดอ่อนได้หรือไม่ พยายามพูดคุยเพื่อหาค าตอบของ ค าถามเหล่านี้ ก่อนจะสรุปและแบ่งปันให้ทุกคนได้รับทราบ และจัดตั้งแผนการด าเนินการหลักที่ผ่าน การพิจารณาเรียบร้อยแล้ว น ามาใช้เป็นแนวทางในการท างานต่อไป

2. มองหาหน่วยงานหรือองค์กร ที่ประสบความส าเร็จ มีแบบปฏิบัติที่ดี

ที่สัมพันธ์กับข้อมูล จากการวิเคราะห์ในขั้นที่ 1 โดยเฉพาะอย่างยิ่งจุดอ่อนและโอกาสในการพัฒนา และถ้ามีบริบทที่ใกล้เคียงกันก็จะมีความเป็นไปได้สูงที่จะเรียนรู้และน าแนวปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ได้

จริง ถ้าเป็นบริบททางการศึกษาก็ควรจะมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน เช่น จัดการศึกษาในระดับเดียวกัน

115 ขนาดเดียวกัน ทรัพยากรต่าง ๆ ใกล้เคียงกัน เป็นต้น ซึ่งในการคัดเลือกหน่วยงานหรือองค์กรที่จะไป ศึกษาดูงานนั้นควรก าหนดหลักเกณฑ์ที่มีความชัดเจน