• Tidak ada hasil yang ditemukan

1.1 การพัฒนาผลการรู้เรื่องคณิตศาสตร์

ในระดับนักเรียน ควรคำานึงถึง ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ควรเน้นพัฒนาในทุกๆ สมรรถนะ สำาคัญของนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นความสามารถใน การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา ทักษะชีวิต และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

1.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ ศึกษา ควรให้ความเสมอภาคในการพัฒนา โรงเรียนทั้งโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่

1.3 ครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการศึกษา ควรร่วมมือกัน จัดกิจกรรมการเรียน การสอน และกิจกรรมอื่นที่จะส่งเสริม กระตุ้นเร้า ให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์

มีความตั้งใจเรียน มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง และมี

อัตมโนทัศน์ในทางบวกต่อตนเองและการเรียนวิชา คณิตศาสตร์

1.4 การพัฒนาการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ของ นักเรียนในระดับห้องเรียน จากที่พบว่า บรรยากาศ ในชั้นเรียนมีอิทธิพลรวมต่อค่าเฉลี่ยการรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ของนักเรียนมากที่สุด ดังนั้นครู

Journal of Education, Mahasarakham University 73 Volume 6 Number 3 July - September 2012

ผู้สอนควรให้ความสำาคัญกับการจัดบรรยากาศใน ชั้นเรียน

2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าต่อไป 2.1 ควรมีการเพิ่มระดับกลุ่มข้อมูลใน การศึกษาจากงานวิจัยนี้ เป็น 3 ระดับ เช่น ระดับ นักเรียน ระดับห้องเรียน และระดับโรงเรียน หรือ ศึกษาปัจจัยเป็น 4 ระดับ โดยเพิ่มระดับ เขตพื้นที่

การศึกษา ซึ่งเป็นระดับนโยบายการจัดการศึกษา เข้าไป

2.2 ควรมีการศึกษารูปแบบหรือแนวทาง ในการพัฒนาโมเดลการวัดปัจจัย แต่ละตัวที่ใช้ใน งานวิจัย ให้ได้ผลที่ชัดเจน ถูกต้อง เหมาะสม

2.3 ควรศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ รู้เรื่องคณิตศาสตร์ ปัจจัยอื่นเพิ่มเติม เช่น การรู้

การอ่านของนักเรียน กลยุทธ์ทางการเรียนของ นักเรียน ความวิตกกังวลในการเรียนของนักเรียน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความมุ่งหวังใน อนาคตของนักเรียน สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ของครอบครัว ขวัญและกำาลังใจของครู นโยบาย การจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ ในโรงเรียน

2.4 ควรทำาการวิจัยแบบผสานวิธี

(mix medthod) เป็นการศึกษาข้อมูลทั้ง เชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ

เอกสารอ้างอิง

ทัศณรงค์ จารุเมธีชน. (2548). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดเลย: การวิเคราะห์เชิงสาเหตุพหุระดับโดยใช้โมเดล ระดับลดหลั่นเชิงเส้น. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ธนบดี สีขาวอ่อน. (2549). องค์ประกอบบางประการที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์: การวิเคราะห์พหุ

ระดับโดยใช้โมเดลระดับ โดยใช้โมเดลลดหลั่นเชิงเส้น. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, มหาสารคาม.

วิภา เมืองมิ่ง. (2549). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์

กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

วิทยากร เชียงกูล. (2552). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2550/2551 “ปัญหาความเสมอภาคและคุณภาพ การศึกษาไทย”. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำากัด วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). การวิเคราะห์พหุระดับ MULTI-LEVEL ANALYSIS. พิมพ์ครั้งที่ 4, โรงพิมพ์

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). คู่มือวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์.

กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น:

โครงการ PISA 2009. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำากัด อรุณการพิมพ์.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). ผลการประเมิน PISA 2009 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำากัด อรุณการพิมพ์.

สุนีย์ คล้ายนิล.(2549). การเรียนรู้เพื่อโลกวันพรุ่งนี้: รายงานสรุปเพื่อการบริหาร. กรุงเทพฯ: เซเว่น พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำากัด.

สุนีย์ คล้ายนิล และคณะ. (2549). การเรียนรู้เพื่อโลกวันพรุ่งนี้: รายงานการประเมินผลการเรียนรู้จาก PISA 2003. กรุงเทพมหานคร : เซเว่นพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำากัด.

สุนีย์ คล้ายนิล และคณะ. (2550). บทสรุปเพื่อการบริหาร: การรู้วิทยาศาสตร์ การอ่าน และคณิตศาสตร์

ของนักเรียนวัย 15 ปี. กรุงเทพ ฯ : เซเว่นพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำากัด.

สุนทรพจน์ ดำารงค์พานิช.(2550). โมเดลจัดลำาดับความสัมพันธ์เชิงสาเหตุอัตมโนทัศน์ด้านวิชาการ อัตมโนทัศน์ด้านไม่ใช่วิชาการและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน: การวิเคราะห์กลุ่มพหุ. วิทยานิพนธ์

ค.ด.,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.

Bloom, B.S. (1976). Human characteristics and school learning. New York : McGraw-Hill Co.

Guzel, Is. and Giray” Berberoglu, G.(2005). An analysis of the programme for international student assessment 2000 (PISA 2000) mathematical literacy data for Brazilian, Japanese and Norwegian students. studies in educational evaluation, v31 n4 p283-314.

McClelland, C. (1953). The achievement motive. New York : appleton century croffs, Inc.

Santrock, J.W. (2008). Educational Psychology (7th ed.). New York, NY: McGraw-Hill.

Stiles, L.J. and Dorsey, M.F. (1950). Democratic teaching in secondary schools. philadelphia, Lippincott.

ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความสามารถใน การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัด อุดรธานี

Causal Relationship of Factors Affecting the Critical