• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการนำาผลงานวิจัยไปใช้

วิธีดำาเนินการวิจัย

จำานวน 9 ท่าน

1. ข้อเสนอแนะในการนำาผลงานวิจัยไปใช้

1.1. ในการกำาหนดนโยบายเกี่ยวกับ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ โรงเรียนมัธยมศึกษาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควร คำานึงถึงการใช้งานมากกว่าการกำาหนดจำานวนของ โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และโปรแกรม การใช้งาน (software) รวมทั้งจัดทำางบประมาณ เพื่อพัฒนาบริบทของโรงเรียนให้เหมาะสมกับการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1.2 การเตรียมบุคลากรเพื่อเตรียมการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลการศึกษา

บุคลากร (peopleware) ตามแนวคิดของ CBAM ได้นำาเสนอ บุคลากร (peopleware) ที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบ ด้วย ผู้ใช้ระบบ ผู้ให้บริการระบบและผู้ประสาน ระบบ ดังนั้น ในการพัฒนาบุคลากรจึงควรดำาเนิน การ ดังนี้

1.2.1 การเตรียมผู้ประสานระบบ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรกำาหนดแนวทางการ สรรหาและพัฒนาสมรรถนะในการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหาร อย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการประสาน ระบบการบริหารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

1.2.2 การเตรียมผู้ให้บริการระบบ ผู้บริหารควรสรรหาบุคคลจากภายใน โดยเลือก ผู้ที่มีพื้นฐานความรู้ด้าน ICT โดยพิจารณาจาก ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับ ICT โรงเรียน และดำาเนิน การพัฒนา โดยการฝึกอบรมในรูปแบบต่างๆ เมื่อ ได้รับการพัฒนาแล้วบุคลากรต้องถ่ายทอดความรู้

สู่บุคลากรอื่นๆ และสนับสนุนการดำาเนินงานโดย จัดให้มีสื่อ แหล่งเรียนรู้ด้วย ICT และสิ่งอำานวย ความสะดวกต่างๆ ในโรงเรียน

1.2.3 การเตรียมผู้ใช้ระบบ ผู้บริหาร ควรสร้างแรงกระตุ้นให้ผู้ใช้ระบบ และนักเรียน ให้เกิดการพัฒนาตนเองในระดับสูงต่อการนำา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำาเนินงานที่

รับผิดชอบและการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการ กำาหนดวิธีการพัฒนาบุคลากรจากความสนใจและ ความต้องการของบุคลากรบุคลากรเป็นหลักมีการ สั่งการเป็นลายลักษณ์อักษรเฉพาะงานที่สำาคัญๆ และจูงใจโดยให้มีส่วนร่วมในงานของโรงเรียนที่

เกี่ยวข้องกับ ICT สม่ำาเสมอ

1.3. การสร้างความเข้าใจในความสำาคัญ ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน งานที่รับผิดชอบ ผู้บริหารควรชี้แจงให้ผู้ใช้ระบบ

Journal of Education, Mahasarakham University 95 Volume 6 Number 3 July - September 2012

และผู้ให้บริการระบบมีความเข้าใจในในความ สำาคัญของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในงานที่รับผิดชอบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดำาเนินงานและเกิดผลต่อผู้เรียนในด้าน ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้น การทำาความ เข้าใจในรายละเอียดอย่างชัดเจนทั้งผู้ประเมินและ ผู้ขอรับการประเมิน จะเป็นแนวทางในการสร้าง การยอมรับและความสนใจในเทคโนโลยีของ บุคลากรที่จะส่งผลต่อระดับการใช้เทคโนโลยีของ บุคลากร

1.4 การให้ความสำาคัญกับการประเมินผล การบริหารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร จากการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า มีการกล่าว ถึง การประเมินผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารน้อยมา จึงทำาให้ไม่ได้ข้อมูลในการ ที่จะพัฒนาปรับปรุงการบริหารการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารที่เป็นประโยชน์ในการ พัฒนางานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรมีการกำาหนดแนวทางการ ประเมินผลและการนำาผลการประเมินไปใช้ใน

การพัฒนาการบริหารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลต่อไป

2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยต่อไป 2.1. ผลการศึกษาพบว่า ระบบมีความ เป็นไปได้ในการนำาไปใช้ ดังนั้นควรมีการศึกษา ผลการนำาระบบการบริหารการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียน มัธยมศึกษา โดยจำาแนกตามขนาดของโรงเรียนที่

มีขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดเล็ก เพื่อทราบ ถึงประสิทธิผลของระบบและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ ประสิทธิภาพของระบบอย่างแท้จริง

2.2. ผลจากการศึกษา พบว่า ปัญหา ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยส่วนใหญ่อยู่ที่ความไม่พร้อมของบุคลากร (peopleware) ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาและ พัฒนารูปแบบการพัฒนาบุคลกรในเรื่องเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้เกิดผลในการ พัฒนาอย่างแท้จริง

เอกสารอ้างอิง

ชฎาภรณ์ สงวนแก้ว. (2549). ระดับการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาการใช้ไอซีทีเพื่อการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, กรุงเทพฯ.

ชิดชนก ศุภวโรดม. (2550). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มุ่งสู่โรงเรียน ICT สำาหรับสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., (การบริหารการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ชนัญญา พรหมฝาย. (2546). ตัวแปรที่สัมพันธ์กับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ สอนของครูช่วงชั้นที่ 3-4 ในโรงเรียนสังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม.สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เธียรพร สำานวน. (2547). การศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน จังหวัดสงขลา กรณีศึกษา:

โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อำาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., สาขาหลักสูตร และการสอน บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, สงขลา.

วิเชียร ดอนแรม. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของครูโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ วท.บ. สาขาการศึกษาวิทยา ศาสตร์ (คอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

สุทธนู ศรีไสย์, นิรชราภา ทองธรรมชาติ, จิตต์นิภา ศรีไสย, สงกรานต์ วีระเจริญกิจ และสุภาณี จุลคู

(2547). การประเมินประสิทธิภาพการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาขั้น พื้นฐาน. คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2549). รายงานผลการวิจัยและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จำากัด.

สำานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ. (2545). กรอบนโยบายเทคโนโลยี

สารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธนาเพรส แอนด์ กราฟิก จำากัด.

สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). การวิจัยสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารโครงการหนึ่งอำาเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด.

อภิญญา สุดา. (2547). การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโรงเรียนในโครงการโรงเรียนต้นแบบการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., สาขาวิชา บริหารการศึกษา ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Anderson, S. E. (1997). Understanding teacher change: Revisiting the concerns based adoption model. Curriculum Inquiry, 27(3), 331–367.

Hall, G. E. (1979). The concerns-based approach to facilitating change. Educational Horizons, 57(4), 202–208.

Hall, G. E. & George, A. A. (1979). Stages of concern about innovation: The concept, initial verification and some implications. 1st draft. Texas University, Austin. Washington, DC: Research and Development Center for Teacher Education/National Institute of Education.

Hall, G. E., & Hord, S. M. (1987). Change in schools: Facilitating the process. Albany: State University of New York Press

Journal of Education, Mahasarakham University 97 Volume 6 Number 3 July - September 2012

Hall, G.E. & Hord, S.M. (2011). Implementing change: Pattern, principles and pothole. Upper Saddle River, NJ: Person Education, Inc.

Layfield, Kavin Dale. (1998). A national assestment of secondary agriculture teacher perceptions of use the internet (high school teachers). Abstract from: Dissertation Abstracts International: 9901061.

Oliver, R. (2007). Using technology supported inquiry learning to engage first year students in large classes. In Student Engagement. Proceedings of the 16th Annual Teaching Learning Forum, 30-31 January 2007. Perth: The University of Western Australia.