• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการนำาโปรแกรม บทเรียนไปใช้

Comparisions of Effects of Learning with Courseware and Learning Yonisomanasikan Approach on Principles of Buddist

2. ข้อเสนอแนะในการนำาโปรแกรม บทเรียนไปใช้

1.1 ในการสร้างโปรแกรมบทเรียนควร คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล คือ ผู้เรียน ให้มากที่สุด

1.2 ควรศึกษาโปรแกรมต่างๆ ที่สามารถ สนับสนุนการใช้งานในโปรแกรมหลักที่ใช้สร้าง

โปรแกรมบทเรียน เช่น โปรแกรม Sothink Glanda2004 โปรแกรม Flash MX โปรแกรม Adobe ImageReadyCS ซึ่งใช้ในการสร้างภาพ เคลื่อนไหว และการตกแต่งปุ่มต่างๆ โปรแกรม ที่ใช้ในการอัด ตกแต่งและแปลงไฟล์เสียง เช่น โปรแกรม Cubase โปรแกรม SoundForge 6.0 โปรแกรม Nero Wave Editor เพื่อให้บทเรียนน่า สนใจมากขึ้น

1.3 แบบทดสอบ และแบบฝึกหัดใน โปรแกรมบทเรียนควรมีหลายรูปแบบ เช่น คำาถาม แบบเลือกตอบ คำาถามแบบเขียนตอบ แบบฝึก ปฏิบัติ หรือมีพื้นที่นำาเสนอผลงานจากการค้นคว้า ของผู้เรียน ซึ่งจะเหมือนกับสภาพจริงของการเรียน ภายในห้องเรียน

2. ข้อเสนอแนะในการนำาโปรแกรม บทเรียนไปใช้

2.1 ก่อนการใช้โปรแกรมบทเรียน ครู

ผู้สอนควรจะทำาการศึกษาให้เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ ใช้ รายละเอียดของเนื้อหา เพื่อที่จะได้เกิดความ มั่นใจในการนำาโปรแกรมบทเรียนไปใช้สอนจริง

2.2 ควรให้นักเรียนใช้หูฟังกรณีที่ต้อง เรียนร่วมกันในชั้นเรียน เพราะอาจก่อให้เกิดความ รำาคาญต่อเพื่อนร่วมชั้น จนทำาให้การเรียนไม่บรรลุ

ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้

2.3 ก่อนเรียนควรมีการสำารวจและฝึก ทักษะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของนักเรียน ก่อน เช่น การคลิกเมาส์ การลากเมาส์ เป็นต้น เพื่อให้นักเรียนทราบวิธีการที่ถูกต้องและสามารถ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างเรียน

3. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 3.1 ควรมีการวิจัยและพัฒนาโปรแกรม บทเรียนโดยนำาระบบและรูปแบบทดลองนี้ไป ทดลองในกลุ่มสาระศิลปะและการเรียนรู้อื่นๆต่อ ไป เพื่อหาประสิทธิภาพ และค่าดัชนีประสิทธิผล

ของโปรแกรมบทเรียน

3.2 ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบการสอน ด้วยโปรแกรมบทเรียนกับรูปแบบการสอนที่หลาก หลาย เช่น การสอนแบบอริยสัจ 4 การสอนแบบ ไตรสิกขา เป็นต้น

3.3 ควรมีการวิจัยปัญหาและผลกระทบ จากการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนของผู้เรียน ที่มีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน เช่น คนพิการทาง หู คนพิการทางสายตา เพื่อจะได้สร้างและพัฒนา โปรแกรมบทเรียนให้ตรงกับความต้องการของ ผู้เรียน

เอกสารอ้างอิง

คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้. (2543). ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำาคัญที่สุด (พิมพ์ครั้งที่ 5).

กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์พัฒนาศึกษา.

ฉัตรชนัฐ คณานิตย์ธนกิจ. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พื้นฐานงานศิลปะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนกับการเรียนแบบปกติ.

วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2551). การพัฒนาคอร์สแวร์และบทเรียนบนเครือข่าย (พิมพ์ครั้งที่ 12).

มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, มหาสารคาม.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2552). การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 13: ปรับปรุงแก้ไข).

มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, มหาสารคาม.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2541). คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ: วงกมลโพรดักชัน.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อ การเรียนการสอน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ทิวากร ศรีตะวัน. (2551). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะและพลังงานแสง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่าง การสอนโดยใช้

บทเรียนคอมพิวเตอร์ และการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, มหาสารคาม.

ธีรพงษ์ มงคลวุฒิกุล. (2550). คู่มือสร้างสื่อมัลติมีเดีย ด้วย Authorware 7. นนทบุรี: ไอดีซี อินโฟฯ.

นันทิยา นนท์อาสา. (2551). การเปรียบเทียบผลการเรียน เรื่องงานใบตอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 ระหว่างการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียน กับการเรียนแบบโครงงาน. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

บุญทัศน์ แจ่มจันทรา. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยโปรแกรมบทเรียนกับการเรียนแบบปกติ เรื่องมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

Journal of Education, Mahasarakham University 123 Volume 6 Number 3 July - September 2012

พระชาติชาย บุญบาล. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องเบญจศีล ที่สอนตามวิธีสอนแบบไตรสิกขากับแบบโยนิโสมนสิการ. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, ลพบุรี.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2543). กระบวนการเรียนรู้ในพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: กรม วิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2547). ปาฐกถาพิเศษ: ยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนวิถีพุทธ.

นครปฐม.

พระเทพเวที ประยุทธ์ ปยุตฺโต (2537). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์

ปัญญา.

พระมหาประทีป กิตฺติภทฺโท (เกษรอินทร์). (2550). ผลการเรียนรู้โดยวิธีการสอนแบบสร้างศรัทธาและ โยนิโสมนสิการ เรื่องไตรสิกขา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

วรเชษฐ ชัยวรพล. (2550). สถานภาพการศึกษาพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. วารสารศาสนาและ วัฒนธรรม, 1(1), 171-187.

วารี รักหะบุตร. (2552). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่องนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี

ที่ 6 ที่เรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนแบบฝึกปฏิบัติกับการเรียนแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

วีรยา สิงห์อาจ. (2550). การเปรียบเทียบผลการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนกับการเรียนตามคู่มือครู

เรื่องการเขียนสะกดคำาไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความ คงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, มหาสารคาม.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2542). การพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, สุโขทัย.

อาลัย พรหมชนะ. (2541). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และทักษะการคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี

ที่ 5 ในการเรียนวิชา ส 0411 พระพุทธศาสนา เรื่องหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดยวิธี

สอนตามแนวโยนิโสมนสิการ. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สุโขทัย.

Ennis, R.H. (October, 1985). “A Logical Basic for Measuring Critical Thinking Skill. “Educational Leadership. 43, 2. 45-48.

Caforio, Sylvia T.E. (April, 1994). “Computer-assisted Tutoriil As a Supplementary Learning Tool,” Dissertation Abstracts International. 32(02): 422.

The Effects of Learning through WebQuest-Based Instruction