• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของข้อมูล

บทที่ 2

ภาพประกอบ 6 กรอบแนวคิดในการวิจัย

4. สร้างแผนการจัดกิจกรรม และ วางแผนการวัดและประเมินผล

1.1 ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของข้อมูล

124 การจัดกระทำกับข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

1.การจัดกระทำข้อมูล

เมื่อได้รับแบบประเมินความเหมาะสมโปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทาง โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA)คืนจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ผู้วิจัยจัดกระทำ กับข้อมูลดังต่อไปนี้

125 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ค่าความยาก(Difficulty) ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (Discriminant

Power) และค่าความเชื่อมั่น โดยหาด้วยวิธีของKuder-Richardson(KR-20) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อนำผลที่ได้ในระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริม การรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทางโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA) ไปใช้ในการวิจัย ระยะที่ 3 การทดลองโปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทางโครงการประเมินผลนักเรียน ร่วมกับนานาชาติ(PISA)ต่อไป

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย

1.สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือ

1.1.สถิติที่ใช้หาคุณภาพของแบบทดสอบแบบปรนัย

1.1.1 ค่าความเที่ยงตรงของแบบทดสอบแบบปรนัย (Content Validity) ชนิด เลือกตอบ (สมบัติ ท้ายเรือคำ, 2551) ใช้สูตร ดังนี้

IOC = ∑ R

N

เมื่อ IOC แทน ค่าความเที่ยงตรง

∑ R แทน ผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

N แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ

1.1.2 ค่าความยาก(Difficulty)ของแบบทดสอบแบบปรนัย (สมบัติ ท้ายเรือคำ, 2551) ใช้สูตร ดังนี้

p = n

p pH L

2 +

เมื่อ p แทน ดัชนีความยาก

pH แทน จำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มสูง pL แทน จำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มต่ำ

n แทน จำนวนผู้ตอบทั้งหมดของกลุ่มสูงหรือกลุ่ม ต่ำ

1.1.3 ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (Discriminant Power) ของแบบทดสอบแบบปรนัย (สมบัติ ท้ายเรือคำ, 2551) ใช้สูตร ดังนี้

r = n

p pH L

เมื่อ r แทน ดัชนีอำนาจจำแนก

126 pH แทน จำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มสูง

pL แทน จำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มต่ำ

n แทน จำนวนผู้ตอบทั้งหมดของกลุ่มสูงหรือกลุ่ม ต่ำ

1.1.4 ค่าความเชื่อมั่น (สมบัติ ท้ายเรือคำ, 2551) ใช้สูตร ดังนี้

} 1

1{

s

2

q r p

x i i tt k

k

=

เมื่อ k แทน จำนวนข้อสอบ

pi แทน ค่าความยากของข้อสอบข้อที่ i qi แทน 1- pi

sx2 แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนสอบ 1.2.สถิติที่ใช้หาคุณภาพของแบบทดสอบแบบอัตนัย

1.2.1 ค่าความเที่ยงตรงของแบบทดสอบแบบอัตนัย (Content Validity) (สมบัติ

ท้ายเรือคำ, 2551) ใช้สูตร ดังนี้

IOC = ∑ R

N

เมื่อ IOC แทน ค่าความเที่ยงตรง

∑ R แทน ผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ

1.2.2 ค่าความยาก(Difficulty)ของแบบทดสอบแบบอัตนัย (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553)ใช้สูตร ดังนี้

Index of Difficulty =

) )(

(

) ( ) ( ) (

X X

N

X N

S S

Min Max

T

T Min L

H

+

เมื่อ

S

H แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มสูง

S

L แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มต่ำ

X

Max แทน คะแนนสูงสุดที่เป็นไปได้(คะแนนเต็มของข้อสอบ นั้นๆ)

X

Min แทน คะแนนต่ำสุดที่เป็นไปได้(คะแนนต่ำของข้อสอบ นั้นๆ)

N

T แทน จำนวนนักเรียนทั้งกลุ่มสูงกลุ่มต่ำ

127

N

H แทน จำนวนนักเรียนทั้งกลุ่มสูง

1.2.3 ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (Discriminantion) ของแบบทดสอบแบบอัตนัย (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553) ใช้สูตร ดังนี้

Index of Discrimination =

) (

) (

X X

N

S S

Min Max

H

L H

เมื่อ

S

H แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มสูง

S

L แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มต่ำ

X

Max แทน คะแนนสูงสุดที่เป็นไปได้(คะแนนเต็มของข้อสอบ นั้นๆ)

X

Min แทน คะแนนต่ำสุดที่เป็นไปได้(คะแนนต่ำของข้อสอบ นั้นๆ)

N

H แทน จำนวนนักเรียนทั้งกลุ่มสูง

1.2.4 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแบบอัตนัยทั้งฉบับ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553) ใช้สูตร ดังนี้

Coefficient Alpha = )(1 ( ))

( 1 2

2

S S

t i

n

n

เมื่อ n แทน จำนวนข้อสอบของแบบทดสอบนั้น Si2 แทน ความแปรปรวนของข้อสอบแต่ละข้อ st2 แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ 2.สถิติพื้นฐาน

2.1.ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) (สมบัติ ท้ายเรือคำ, 2551)ใช้สูตร ดังนี้

x ̅ = ∑ X

เมื่อ x N̅ แทน ค่าเฉลี่ย

ΣX แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จำนวนคนในกลุ่ม

2.2.ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard deviation ) (บุญชม ศรีสะอาด et al., 2558)ใช้สูตร ดังนี้

128

S.D. = √N ∑ X2−(∑ X)2

N(N−1)

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

X แทน ข้อมูลแต่ละตัว

X2 แทน ข้อมูลแต่ละตัวยกกำลังสอง

N แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมด

ระยะที่ 3 การทดลองโปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทางโครงการประเมินผล นักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA)

วัตถุประสงค์

เพื่อเปรียบเทียบการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทางโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับ นานาชาติ(PISA) ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทางโครงการ ประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA)

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.ประชากร

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 (นครพนม-มุกดาหาร) ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 5,855 คน 169 ห้องเรียน จาก 81 โรงเรียน

2.กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนไชยบุรี

วิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 (นครพนม-มุกดาหาร) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 35 คน จำนวน 1 ห้องเรียน โดยใช้โปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทางโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA) ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นมา ซึ่งกลุ่ม ตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการ สุ่ม

129 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มี 2 ชนิด คือ

1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทาง โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA)

2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบทดสอบการรู้เรื่องการอ่าน ตามแนวทาง โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA)

ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ได้ในระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่าน ตาม แนวทางโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ(PISA)

การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. การดำเนินการทดลอง

การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบแผนการทดลองหนึ่งกลุ่มวัดสองครั้ง(One Group Pretest Posttest Design) ดังนี้

Ex O1 X O2

ความหมายของสัญลักษณ์

Ex แทน กลุ่มทดลอง

O1 แทน การวัดก่อนเข้าร่วมกิจกรรมในโปรแกรม

X แทน การเข้าร่วมกิจกรรมในโปรแกรม จำนวน 20 ชั่วโมง O2 แทน การวัดหลังเข้าร่วมกิจกรรมในโปรแกรม