• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบสมมติฐานการวิจัย โดยใช้เทคนิคการ วิเคราะห์เชิงเส้น (Path analysis) ด้วยโปรแกรม LISREL พร้อมกับได้ด าเนินการตรวจสอบ ข้อตกลงเบื้องต้น ก่อนการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุด้วย โดยน าเสนอผล การวิเคราะห์เป็น 3 ตอน ตามล าดับ ดังนี้

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์สถิติพื้นฐานของตัวแปรและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุ

การน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนดสัญลักษณ์และอักษรย่อที่ใช้

ในการแปล เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ดังนี้

139 ตาราง 13 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ ความหมาย

M (Mean) ค่าเฉลี่ย

SD (Standard Deviation) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Sk (Skewness) ค่าความเบ้

Ku (Kurtosis) ค่าความโด่ง

r

(Pearson product moment correlation coefficient)

ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน R2 (Squared multiplecorrelation) ค่าสหสัมพันธ์พหุคูณยกก าลังสอง

2 ค่าไคแสควร์

df (Degree of freedom) องศาแห่งความอิสระ

p ระดับนัยส าคัญทางสถิติ

GFI (Goodness of fit index) ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง

AGFI (Adjusted goodness of fit index) ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแล้ว RMSEA

(Root mean square error of approximation)

ค่าประมาณความคลาดเคลื่อนของรากก าลังสองเฉลี่ย SRMR

(Standardized root mean square residual)

ค่ารากก าลังสองเฉลี่ยมาตรฐานของส่วนที่เหลือ

DE (Direct effect) อิทธิพลทางตรง

IE (Indirect effect) อิทธิพลทางอ้อม

TE (Total effect) อิทธิพลรวม

140 ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่าง

ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรจากโรงพยาบาลบางปลาม้า และโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช จ านวน 444 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 354 คน ร้อยละ 79.73 และเพศชาย จ านวน 90 คน ร้อยละ 20.27 ส่วนใหญ่สมรส จ านวน 236 คน ร้อยละ 53.15 รองลงมาโสด จ านวน 171 คน ร้อยละ 38.51 หย่าร้าง จ านวน 34 คน ร้อยละ 7.66 และหม้าย จ านวน 3 คน ร้อยละ .68 ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จ านวน 249 คน ร้อยละ 56.08 รองลงมาต ่ากว่าปริญญาตรี จ านวน 168 คน ร้อยละ 37.84 ส่วนใหญ่มีต าแหน่งงานเป็น ข้าราชการ จ านวน 203 คน ร้อยละ 45.72 รองลงมา เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข จ านวน 174 คน ร้อยละ 39.19 ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการท างานมากกว่า 20 ปีขึ้นไป จ านวน 156 คน ร้อยละ 35.14 รองลงมา 1-5 ปี จ านวน 93 คน ร้อยละ 20.95 และ 6- 10 ปี จ านวน 80 คน ร้อยละ 18.02 เป็นต้น ส าหรับอายุ ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 41 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.681 และรายได้/เงินเดือน เฉลี่ย 22, 664.45 บาท ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 15976.608 ตามล าดับ ข้อมูลแสดงดังตาราง 14 และ 15

ตาราง 14 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

ข้อมูลลักษณะ จ านวน (คน) ร้อยละ

เพศ ชาย หญิง

90 354

20.27 79.73 สถานภาพสมรส

โสด สมรส หย่าร้าง หม้าย

171 236 34 3

38.51 53.15 7.66 .68 ระดับการศึกษา

ต ่ากว่าปริญญาตรี

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

168 249 27

37.84 56.08 6.08

141 ตาราง 14 (ต่อ)

ข้อมูลลักษณะ จ านวน (คน) ร้อยละ

ต าแหน่งงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ

พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ลูกจ้างประจ า

ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างรายวัน

203 6 174 18 5 38

45.72 1.35 39.19 4.05 1.13 8.56 ประสบการณ์

ต ่ากว่า 1 ปี

1-5 ปี

6-10 ปี

11-15 ปี

16-20 ปี

มากกว่า 20 ปีขึ้นไป

23 93 80 52 40 156

5.18 20.95 18.02 11.71 9.01 35.14

รวม 444 100.00

ตาราง 15 ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลลักษณะ M SD

อายุ (เฉลี่ย) 41 10.681

รายได้/เงินเดือน (เฉลี่ย) 22, 664.45 15976.608

142 ตอนที่ 2 การวิเคราะห์สถิติพื้นฐานของตัวแปรและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

ระหว่างตัวแปร

การศึกษาค่าสถิติพื้นฐานของตัวแปรสังเกตที่ท าการศึกษาในรูปแบบความสัมพันธ์

โครงสร้างเชิงสาเหตุของความผูกพันของบุคลากร ผู้วิจัยได้ท าการศึกษาตัวแปรโดยการค านวณ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ค่าความเบ้ (Skewness) ค่าความโด่ง (Kurtosis) ค่าสถิติทดสอบไค-สแควร์ (Chi-square) จากนั้นจึงท าการทดสอบการ แจกแจงแบบโค้งปกติ (Normal distribution) ผลการทดสอบปรากฏว่าตัวแปรทุกตัวในงานวิจัยนี้มี

การแจกแจงแบบโค้งปกติ ข้อมูลแสดงไว้ในตาราง 16

ตาราง 16 ค่าสถิติพื้นฐานและสถิติที่ใช้ตรวจสอบการแจกแจงแบบโค้งปกติของตัวแปร

ตัวแปร M SD SK KU p

การรับรู้ความสามารถของตัวเอง 3.80 .51 -.21 -.48 .98

การเห็นคุณค่าในตนเอง 3.32 .41 -.21 -.63 .92

การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ 4.09 .72 .03 .07 .99

การมีส่วนร่วมในองค์การ 3.50 .69 -.29 .21 .92

สังคหวัตถุ 4 4.14 .43 .00 .21 .91

ความผูกพันของบุคลากร 3.15 .32 .61 -.11 .99

ความสุขใจ 4.11 .56 -.34 .66 .99

ข้อมูลจากตาราง 16 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของตัวแปรสังเกตที่ท าการศึกษา มีค่า ระหว่าง 3.32 - 4.14 ส าหรับตัวแปรสังเกตที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การรับรู้ความสามารถของ ตนเอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.32 ส าหรับตัวแปรสังเกตที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ สังคหวัตถุ 4 มี

ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 ในส่วนของการกระจายข้อมูล ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรที่

ท าการศึกษา มีค่าอยู่ระหว่าง .32 - .72 ส าหรับตัวแปรสังเกตที่มีการกระจายน้อยที่สุด คือ ความ ผูกพันชองบุคลากร มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .32 ส าหรับตัวแปรสังเกตที่มีการกระจายของ ข้อมูลมากที่สุดคือ การรับรู้ความสามารถของตังเอง มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .72

การตรวจสอบความเบ้ (Skewness) ของตัวแปรสังเกต พบว่า ตัวแปรสังเกตส่วน ใหญ่มีค่าความเบ้ติดลบ แสดงว่าข้อมูลค่อนข้างเบ้ไปทางซ้ายหรือค่าเฉลี่ยมีค่าน้อยกว่าค่ามัธย ฐาน โดยมีค่าอยู่ระหว่าง -.34 ถึง .61 ตัวแปรสังเกตที่มีค่าความเบ้ติดลบน้อยที่สุด คือ ความสุขใจ

143 ส าหรับตัวแปรสังเกตที่มีความเบ้มากที่สุดคือ ความผูกพันของบุคลากรการตรวจสอบความโด่ง

(Kurtosis) ของตัวแปรสังเกต พบว่า ตัวแปรสังเกตมีค่าความโด่งติดลบและบวก แสดงว่าข้อมูล โด่งมีความโด่งทั้งน้อยกว่าและมากกว่าปกติ โดยมีค่าระหว่าง -.63 ถึง .66 ตัวแปรสังเกตที่มีความ โด่งน้อยกว่าปกติ คือ การเห็นคุณค่าในตนเอง และตัวแปรสังเกตที่มีความโด่งมากกว่าปกติ คือ ความสุขใจ

การทดสอบลักษณะของการแจกแจงปกติ (Normal distribution) ของตัวแปรสังเกต โดยสถิติทดสอบ ไค-สแควร์ (Chi-square) พิจารณาจากค่านัยส าคัญทางสถิติผลการตรวจสอบ พบว่าตัวแปรทุกตัวแปรมีค่าไคสแควร์ ที่ไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (sig > .05) แสดงว่า ตัวแปรดังกล่าวมีการแจกแจงปกติทุกตัวแปร ดังนั้นตัวแปรความเหมาะสมกับการวิเคราะห์โมเดล ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นได้ หลังจากที่ได้ท าการตรวจสอบการแจกแจงโค้กปกติของตัวแปร สังเกตแล้ว ผู้วิจัยได้ด าเนินการตรวจสอบข้อตกลงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการหาค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson product moment correlation coefficient) เพื่อ เป็นการตรวจสอบว่าตัวแปรสังเกตที่ศึกษาจะต้องไม่มีความสัมพันธ์กันสูงจนเกิดปัญหาภาวะร่วม เส้นเชิงพหุ (Multicollinearity) โดยผลการตรวจสอบความสัมพันธ์ดังตาราง 17

ตาราง 17 เมทริกซ์สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Correlation Matrix)

ตัวแปร 1 2 3 4 5 6 7

1. การรับรู้ความสามารถของตนเอง 1.00

2. การเห็นคุณค่าในตนเอง .56* 1.00

3. การรับรู้การสนับสนุนในองค์การ .27* .22* 1.00

4. การมีส่วนร่วมในองค์การ .21* .21* .28* 1.00

5. สังคหวัตถุ 4 .36* .43* .26* .41* 1.00

6. ความผูกพันของบุคลากร .30* .30* .39* .33* .51* 1.00

7. ความสุขใจ .40* .44* .43* .27* .33* .42* 1.00

* มีระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการตรวจสอบวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตที่ศึกษา พบว่ามีค่า ความสัมพันธ์เชิงบวกซึ่งอยู่ระหว่าง .21 ถึง .56 และพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ทุกคู่ โดยตัวแปรสังเกตที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุดคือ การเห็นคุณค่าในตนเอง กับ การรับรู้ความสามารถของตนเอง ในภาพรวมคู่ความสัมพันธ์ของตัวแปรสังเกตทุกตัวไม่มีคู่ใด

144 ที่มีความสัมพันธ์เกิน .85 ซึ่งจะท าให้เกิดปัญหาภาวะร่วมเส้นตรงเชิงพหุ (Multicollinearity)

(Kline 2005) ดังนั้นตัวแปรสังเกตที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จึงไม่มีปัญหาภาวะร่วมเส้นตรงเชิงพหุ ถือ ว่าเป็นข้อมูลที่เหมาะสมส าหรับการวิเคราะห์สมการโครงสร้างเชิงเส้นได้

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุ

ผลการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุ เป็นการตรวจสอบ ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นที่ได้พัฒนามาจากแนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความ กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่ จากนั้นจึงพิจารณาอิทธิพลที่ปรากฏ โดยทดสอบ แบบจ าลองตามสมมติฐานของรูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของความผูกพันของ บุคลากรในโรงพยาบาลชุมชน หากพบว่าแบบจ าลองไม่มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

ผู้วิจัยจะด าเนินการแก้แบบจ าลองให้มีความกลมกลืนมากยิ่งขึ้น พิจารณาจากรายงานค่าดัชนี

ปรับแก้ (Modification index) และยอมให้ค่าความคลาดเคลื่อนของตัวแปรสังเกตในแบบจ าลอง สมการโครงสร้างบางคู่มีความสัมพันธ์กันได้โดยค านึงถึงความเหมาะสม และความเป็นไปได้

รายละเอียดดังต่อไปนี้

ผลการตรวจสอบความกลมกลืนของแบบจ าลองสมมติฐาน กับข้อมูลเชิงประจักษ์

พบว่า เพื่อพิจารณาถึงค่าดัชนีวัดความกลมกลืนกับเกณฑ์ตัวบ่งชี้ว่าแบบจ าลองมีความกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า แบบจ าลองตามสมมติฐานมีความกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์

(p-value = .72, SRMR = .00, RMSEA = .00, GFI = 1.00, AGFI = .99, NFI = 1.00, และ CFI

= 1.00) ดังตารางที่ 18 และภาพประกอบ 9

ตาราง 18 ค่าดัชนีความกลมกลืนที่ได้จากการวิเคราะห์และผลการพิจารณา

ดัชนี เกณฑ์ ค่าดัชนี ผลการพิจารณา

P-value >.05 .72 ผ่านเกณฑ์

SRMR < .05 .00 ผ่านเกณฑ์

RMSEA < .08 .00 ผ่านเกณฑ์

GFI >.95 1.00 ผ่านเกณฑ์

AGFI >.95 .99 ผ่านเกณฑ์

NFI >.95 1.00 ผ่านเกณฑ์

CFI >.95 1.00 ผ่านเกณฑ์

145 (Chi-Square = 1.30, df = 3, p-value = .72961, RMSEA = .000)

ภาพประกอบ 9 ผลการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความผูกพัน เมื่อพิจารณาถึงค่าดัชนีความกลมกลืนกับเกณฑ์ที่บ่งชี้แบบจ าลองมีความกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของความผูกพันของ บุคลากรมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์สามารถประเมินค่าขนาดอิทธิพล ในแบบจ าลอง ดังกล่าวเป็นที่ยอมรับได้ถือว่าเป็นการยอมรับสมมติฐาน ผลการวิเคราะห์ดังตาราง 19 และ ภาพประกอบ 9

การรับรู้ความสามารถของ ตนเอง

การเห็นคุณค่าในตนเอง

การมีส่วนร่วมในองค์การ

การรับรู้การสนับสนุนของ องค์การ

สังคหวัตถุ 4

ความผูกพันของบุคลากร

ความสุขใจ .40*