• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE CAUSAL STRUCTURAL RELATIONSHIP MODEL OF EMPLOYEE ENGAGEMENT AND EFFECT OF EMPLOYEE ENGAGEMENT DEVELOPMENT PROGRAM ON SUBJECTIVE WELL-BEING OF COMMUNITY HOSPITALS' EMPLOYEE

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE CAUSAL STRUCTURAL RELATIONSHIP MODEL OF EMPLOYEE ENGAGEMENT AND EFFECT OF EMPLOYEE ENGAGEMENT DEVELOPMENT PROGRAM ON SUBJECTIVE WELL-BEING OF COMMUNITY HOSPITALS' EMPLOYEE"

Copied!
418
0
0

Teks penuh

THE EMPLOYEES CAUSAL STRUCTURAL RELATIONSHIP MODEL AND THE EFFECT OF THE EMPLOYEE DEVELOPMENT PROGRAM ON THE SUBJECTIVE WELL-BEING OF EMPLOYEES IN COMMUNITY HOSPITALS. The purpose of this research is to examine a model of the causal structural relationship between employee engagement and the effects of an employee engagement development program on the subjective well-being of employees in local hospitals.

แนวคิดและทฤษฎีของความผูกพันของบุคลากรและความสุขใจ

แนวคิดและทฤษฎีของความผูกพันของบุคลากร (Employee engagement)

  • ความหมายความผูกพันของบุคลากร
  • แนวคิดและทฤษฎีความผูกพันของบุคลากร
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันของบุคลากร
  • เครื่องมือวัดความผูกพันของบุคลากร

แนวคิดความสุขใจ (Subjective Well-being)

  • ความหมายความสุขใจ
  • แนวคิดความสุขใจ
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขใจ
  • เครื่องมือวัดความสุขใจ
  • ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันของบุคลากรมีผลต่อความสุขใจ

โดยใช้แบบสอบถามแบบสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional Survey) และตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาทรัพยากรงานและทรัพยากรบุคคล/ปัจจัยส่วนบุคคลที่หลากหลาย Baker ยังได้รวบรวมข้อค้นพบหลายประการที่แสดงให้เห็นว่าความมุ่งมั่นในการทำงานส่งผลต่อผลผลิต การปฏิบัติงานตามบทบาทและไม่ใช่บทบาท Halbesleben & Wheeler (2008, อ้างในสมหญิง ละมุลภักดิ์, 2558) ศึกษาความสัมพันธ์ของความมุ่งมั่นและความมีส่วนร่วมในการทำนายการปฏิบัติงานและพฤติกรรม ตั้งใจลาออกเพื่อเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 587 คน

ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากร

สังคหวัตถุ 4

  • ความหมาย สังคหวัตถุ 4
  • หลักสังคหวัตถุ 4
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักสังคหวัตถุ 4 ที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากร 54
  • เครื่องมือวัดสังคหวัตถุ 4

การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-Efficacy)

  • ความหมายการรับรู้ความสามารถของตนเอง
  • แนวคิด ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self- Efficacy Theory)
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ความสามารถของตนเองกับความผูกพันของ
  • การวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง

การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self Esteem)

  • ความหมายการเห็นคุณค่าในตนเอง
  • แนวคิด ทฤษฎีการเห็นคุณค่าในตนเอง
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเห็นคุณค่าในตนเองกับความผูกพันของบุคลากร 66

การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (Organization Support Perception)

  • ความหมายการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ
  • แนวคิด ทฤษฎีการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับความผูกพันของ
  • เครื่องมือวัดการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ

การมีส่วนร่วมในองค์การ (Participation in the organization)

  • ความหมายการมีส่วนร่วมในองค์การ
  • แนวคิด ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในองค์การ
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมในองค์การกับความผูกพันของบุคลากร
  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมในองค์การกับความสุขใจ
  • เครื่องมือวัดการมีส่วนร่วมในองค์การ

ควรมีลักษณะของการก าหนดการอาศัยซึ่งกันและกันของ ตัวแปร 3 กลุ่มได้แก่ 1) ปัจจัยภายในตัว บุคคล (Internal person factor =P) ประกอบด้วย ความเชื่อ การรับรู้ตนเอง 2) เงื่อนไขเชิงพฤติกรรม (Behavior condition = B) และ 3) เงื่อนไขเชิงสิ่งแวดล้อม (Environmental condition = E) ซึ่ง ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 องค์ประกอบนี้มีลักษณะต่อเนื่องเป็นขั้นตอน เป็นระบบที่เกี่ยวกันไว้. Interlock system) โดยแต่ละองค์ประกอบต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ซึ่งอิทธิพลแต่ละอย่างจะ มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม (Bandura, 1977) ซึ่งในระยะแรกแบนดูราได้เสนอแนวคิด เกี่ยวกับความคาดหวังความสามารถของตนเองว่าเป็นความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับความสามารถ ตนเองในลักษณะที่เฉพาะเจาะจงและความคาดหวังนี้เป็นตัวก าหนดการแสดงออกของพฤติกรรม ต่อมาภายหลังใช้ค าว่า “การรับรู้ความสามารถในตนเอง (Perceived self-efficacy)” แทนความ คาดหวังในความสามารถของตนเอง การตัดสินใจของบุคลาคลในการกระท าพฤติกรรมจะเกี่ยวกับ ความสามารถของตนเองที่จะจัดการหรือด าเนินการกิจกรรม เป็นต้นซึ่งจากโครงสร้างทฤษฎีของ Bandura แสดงให้เห็นองค์ประกอบที่ส าคัญของทฤษฎีนี้ ประกอบด้วย 1) การรับรู้ความสามารถ ของตนเอง (Perceived self-efficacy) หมายถึง ความเชื่อหรือความมั่นใจของบุคคลว่าตนเองมี. สร้างแบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองเช่นแบบวัด Self-esteem Scale ของ Rosenberg(1965) แบบวัด Self-esteem inventory ของ Coopersmith (1985) แบบวัด Rubin’s Self-esteem Scale (กาญจนา พงศ์พฤกษ์, 2523) แบบวัดของ Pope, McHale & Craighead (1988 อ้างถึงใน ทิวาพร อนันตพงศ, 2546) เป็นต้น ซึ่งอย่างไรก็ตามจากการศึกษาการเห็นคุณค่าในตัวเองที่ผ่าน มาในอดีตได้พบปัญหาในเรื่องของผู้ที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองต ่าซึ่งมักจะตอบแบบสอบถามให้.

ความสัมพันธ์ตัวแปรที่จะศึกษากับหลักการทางพุทธศาสนาและรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์

หลักการทางพุทธศาสนา

รูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม (Interactionism model) ของ Magnusson & Endler

แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย การพัฒนาความผูกพันของบุคลากร

แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย การพัฒนาความผูกพันของบุคลากร

  • แนวทางการพัฒนาตามหลักพุทธศาสนา
  • แนวคิดการยอมรับและการให้สัญญา (Acceptance Commitment Therapy)
  • ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล (Information
  • ทฤษฎี 21 วัน (The 21 day Habit Theory)
  • แนวคิดการมีส่วนร่วม (Participation)
  • การฝึกอบรม (Training)
  • การสะท้อนความคิด (Reflection)

งานวิจัยเกี่ยวกับดนตรีและเสียงเพลงที่มีผลต่อร่างกาย อารมณ์และพฤติกรรม

งานวิจัยเกี่ยวกับการชมภาพยนตร์ที่มีผลต่อร่างกาย อารมณ์และพฤติกรรม

แนวคิด “ร้อยมาลัย”

การวัดผลของโปรแกรมการพัฒนาความผูกพันของบุคลากร

กรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบแนวคิดในการวิจัยระยะที่ 1

กรอบแนวคิดในการวิจัยในระยะที่ 2

สมมติฐานในงานวิจัย (Research Hypothesis)

Salanova และคณะอื่นๆ (Salanova; et al. 2011) ศึกษาภาวะผู้นำในการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลต่อการปฏิบัติงานที่อยู่เหนือบทบาท โดยพิจารณาจากสมรรถนะ ความนับถือตนเองและความมุ่งมั่นในการทำงานเป็นตัวแปรที่แทรกแซง ความแตกต่างที่มีนัยสำคัญของผลลัพธ์ระหว่างสองกลุ่ม Stanton et al.

การด าเนินการวิจัยในระยะที่ 1

การก าหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การจัดกระท าข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

การด าเนินการวิจัยระยะที่ 2

แบบแผนการทดลอง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ตัวแปรในการวิจัย

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

การด าเนินการทดลอง

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การจัดกระท าข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

สรุปการเชื่อมโยงของการวิจัยระยะที่ 1 และการวิจัยระยะที่ 2

การพิทักษ์สิทธิ์และจรรยาบรรณในการวิจัย

ผลการวิจัยระยะที่ 1

SD (Standard Deviation) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน) GFI (ความดีของดัชนีความพอดี) ข้อผิดพลาดรูตค่าเฉลี่ยกำลังสองของการประมาณ)

ผลการวิจัยระยะที่ 2

180 ภาระงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลมีมากขึ้นหลายเท่า ดังนั้นจึงมีระยะเวลาที่จะเข้าสู่ 22. ความสัมพันธ์ระหว่างคู่ทำงาน: บทบาทของการเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด

ทฤษฎีสนับสนุนแนวคิด Cook

การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความผูกพัน

Ahmed และคณะ (2015) พบว่าการรับรู้การสนับสนุนขององค์การสามารถ อธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่น ผูกพันในงานได้ถึงร้อยละ 53 ส าหรับในการวิจัยแบบ ระยะยาว (Longitudinal study) พบว่าการรับรู้การสนับสนุนขององค์การในการวัดครั้งที่ 2 และ 3 ส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานในการวัดครั้งที่ 3 (Barbie et al., 2013) นอกจากนี้การรับรู้การ สนับสนุนขององค์การมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความยึดมั่นผูกพันในงานโดยผ่านการรับรู้คามสามารถ ของตนเอง (Caesens & Stinglanmber, 2014) และในการศึกษาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เป็นตัวแปรคั่นกลางระหว่างการรับรู้การสนับสนุนขององค์การกับพฤติกรรมการท างานหรือ พฤติกรรมการสร้างนวัตกรรมนั้น มีผลการศึกษา ดังนี้ Sulea และคณะ (2012) ได้ท าการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนขององค์การกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานโดยมีความ ยึดมั่นผูกพันในงานเป็นตัวแปรคั่นกลาง โดยท าการศึกษากับบุคลากรหลากหลายองค์การใน ประเทศโรมาเนีย จ านวน 350 คนผลการการศึกษาพบว่า ความยึดมั่นผูกพันในงานเป็นตัวแปร คั่นกลางแบบบางส่วน (partially mediator) ระหว่างคู่ความสัมพันธ์การรับรู้การสนับสนุนของ องค์การกับพฤติกรรมการท างานนอกบทบาท ในขณะเดียวกัน Agarwal (2014) พบว่าในการศึกษา กับบุคลากรระดับผู้จัดการจากสององค์การใหญ่ในประเทศอินเดียนั้น ความยึดมั่นผูกพันในงาน เป็นตัวแปรคั่นกลางแบบเต็มที่ (Fully mediator) ของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุน ขององค์การกับพฤติกรรมการสร้างนวัตกรรม และในการศึกษาการรับรู้การสนับสนุนขององค์การ ส่งผลต่อความรู้สึกผิดชอบในภาระหน้าที่ของบุคลากร(Employee obligation) และส่งผลต่อ จ านวนความคิดใหม่ ๆ (Pundt, Martins & Nerdinger, 2010) ขณะที่ มุทิตา คงกระพัน (2554) ที่. 2550) ใช้แบบวัดของ Eisenberger และคณะ (1986) น ามาใช้ในบริบทของทีมข้ามสายงานของ พนักงานชิ้นส่วนยานยนต์เป็นต้น. แนวรุนแรง โดยให้ทั้งสอง กลุ่มท าแบบทดสอบ Proficiency Test จ านวนทั้งหมด 40 ข้อ ใช้เวลา ประมาณ 40 นาที ก่อนและหลังจากนั้น ให้กลุ่มตัวอย่างที่หนึ่งชมภาพยนตร์แนวสนุกสนาน และ ให้กลุ่มตัวอย่างที่สองชมภาพยนตร์แนวรุนแรง เป็นเวลา 15 นาที ปรากฏว่า ผลการทดสอบ คะแนนภาษาอังกฤษหลังการชมภาพยนตร์ดีกว่าก่อนการชมภาพยนตร์ และจากการวิเคราะห์.

การสุ่มตัวอย่างและขนาดกลุ่มตัวอย่างการวิจัยระยะที่ 1

แบบแผนการทดลอง

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 1

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 2

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 3

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 4

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 5

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 6

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 7

กิจกรรมการพัฒนาความผูกพัน กิจกรรมที่ 8

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลพื้นฐาน

ค่าสถิติพื้นฐานและสถิติที่ใช้ตรวจสอบการแจกแจงแบบโค้งปกติของตัวแปร

หัวข้อวิจัย โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความผูกพันของบุคลากรและผลของโปรแกรมการพัฒนาความผูกพันของบุคลากรต่อความสุขของบุคลากรในโรงพยาบาลของรัฐ การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความผูกพันของพนักงานกับผลกระทบของโปรแกรม การพัฒนาจากการมีส่วนร่วมของพนักงานสู่ความสุขของเจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลเทศบาล เป็นการศึกษาหลายวิธี (การวิจัยแบบหลายวิธีการ) โดยดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ โดยการวิจัยในระยะที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงสาเหตุ ใครจะรู้ถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดสิ่งนี้ จากนั้น ผลการวิจัยนี้จะนำไปสู่การศึกษาในระยะที่ 2 ซึ่งเป็นการศึกษากึ่งทดลองแบบกลุ่มควบคุมแบบไม่สุ่มก่อน-ทดสอบ-หลังการออกแบบ 1. มาสร้างบุคลากร โปรแกรม พัฒนา ความ ผูกพัน และ ทดลอง กับ เจ้าหน้าที่ ทดลอง ระยะเวลาของการทดลองคือ 22 วัน

เมทริกซ์สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Correlation Matrix)

ค่าดัชนีความกลมกลืนที่ได้จากการวิเคราะห์และผลการพิจารณา

ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลของโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุของความผูกพันของบุคลากรใน

ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความผูกพันและความสุขใจ

ความผูกพัน 3 ด้าน

การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรมด้วยรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม

กรอบแนวคิดในการวิจัยระยะที่ 1

กรอบแนวคิดในการวิจัยระยะที่ 2

กรอบโปรแกรม “การพัฒนาความผูกพัน”

ขั้นตอนการท ากิจกรรม

ขั้นตอนการด าเนินการวิจัยในระยะที่ 2

สรุปความเชื่อมโยงของการวิจัยที่ 1 และการวิจัยระยะที่ 2

ผลการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความผูกพัน

Referensi

Dokumen terkait

Discriminant Validity Test Results Fornell- Larcker Criterion EE ES RS Employee engagement 0.804 Employee satisfaction 0.755 0.966 Reward system 0.799 0.573 0.909 The