• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิจัย

4.1.2.2 ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษารายวิชาGST1101 Business Mathematics

ตารางที 4. 3 แสดงร้อยละของข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาทีเรียนวิชา GST1101 Business Mathematicsจําแนกตามเพศ และสาขาวิชา

กลุ่มตัวอย่าง ขนาด

เพศ ชาย

(%)

หญิง (%) กลุ่มทีสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL 14 3

(21.42)

11 (78.57)

กลุ่มทีสอนแบบปกติ 17 2

(11.76)

15 (88.23)

รวม 31 5 26

4.1.2.2 ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษารายวิชาGST1101 Business

ตารางที 4.4 แสดงค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของนักศึกษารายวิชา GST1101 Business Mathematics

กลุ่มตัวอย่าง n Mean (X ) Standard Deviation

กลุ่มทีสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL 14 70.36 9.6

กลุ่มทีสอนแบบบรรยาย 17 57.88 12.6

คําถามวิจัยข้อ 2:

นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติทีเรียนรายวิชาGST1101 Business Mathematics โดยใช้

การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ PBL-CL ทําให้ผลสัมฤทธิทางการเรียนดีกว่าการสอน แบบบรรยายหรือไม่?

จากคําถามวิจัยข้อ 2 ผู้วิจัยได้นํามาตั งเป็นการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ดังต่อไปนี

สมมุติฐาน ข้อ2:

Ho: นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติทีเรียนโดยใช้การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ PBL-CL มีค่าเฉลียของคะแนนรายวิชาGST1101 Business Mathematics เท่ากับนักศึกษาที

เรียนวิชานี แบบบรรยาย

H1: นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติทีเรียนโดยใช้การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ PBL-CL มีค่าเฉลียของคะแนนรายวิชาGST1101 Business Mathematics มากกว่านักศึกษาที

เรียนวิชานี แบบบรรยาย หรือ Ho: μ1 = μ2

และ H1: μ1  μ2

จากผลการทดสอบสมมุติฐาน ข้อ 2 ผู้วิจัยใช้ค่าสถิติ t-test แบบไม่ทราบค่าความแปรปรวนของ ประชากรทั งสอง และทราบว่ามีค่าไม่เท่ากัน (unknown variance and 21  22) และ กําหนดให้มีระดับนัยสําคัญ () เท่ากับ 0.05 การประมวลผลข้อมูลผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรม SPSS มาประมวลผลข้อมูล ดังแสดงในตารางที 4.5 ดังนี

ตารางที 4.5 การทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาทีเรียน รายวิชา GST1101 Business Mathematics โดยใช้รูปแบบ PBL-CLกับไม่ได้ใช้

รูปแบบ PBL-CL

กลุ่ม n Mean (X ) Standard Deviation t

กลุ่มทีสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL 14 70.36 9.6 3.12*

กลุ่มทีสอนแบบบรรยาย 17 57.88 12.6

* p  .05

ผลการทดสอบจากตารางที 4.5 แสดงว่าเป็นการปฎิเสธสมมุติฐาน Ho เนืองจาก การ ประมวลผลข้อมูลจากโปรแกรม SPSS มีค่า P-value คือ

2 ) 2

( tailed Sig

= 0.002

2 004 .

0

และค่านี มีค่าน้อยกว่าค่าระดับนัยสําคัญ () เท่ากับ 0.05 ทําให้ p  .05 ดังนั นจึงปฏิเสธ สมมุติฐาน Ho นันคือ ยอมรับ H1 ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่านักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติที

เรียนโดยใช้การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ PBL-CL มีค่าเฉลียของคะแนนรายวิชาGST1101 Business Mathematics มากกว่านักศึกษาทีเรียนวิชานี แบบบรรยาย

4.1.3 ผลการวิจัยเชิงทดลองรายวิชา IBU1201 Principles of Business ของ นักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ

การวิจัยนี เป็นการทดลองใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบใช้ปัญหาเป็น พื นฐานควบคู่กับแบบร่วมมือ (PBL-CL) กับกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ

ชั นปีที 1 ทีเรียนรายวิชา IBU 1201 Principle of Business ผู้วิจัยได้ใช้แบบแผนการวิจัยแบบ

One Group Pretest Posttest Designมีการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างเพียงหนึงกลุ่มเท่านั นมีดัว แปรอิสสระหนึงตัวและมีการวัดผลก่อนและหลังการทดลองเพือศึกษาเปรียบเทียบผล

O1 X O2

4.1.3.1 กลุ่มตัวอย่างนักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ประชากรทีใช้ในการวิจัยครั งนี คือ นักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ระหว่างประเทศชั นปีที 1 วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และกลุ่มตัวอย่าง

ได้แก่นักศึกษาทีลงทะเบียนเรียนรายวิชาIBU1201 Principle of Business ในภาคการศึกษาที 1 ปีการศึกษา 2553 เนืองจากนักศึกษากลุ่มนีมีจํานวนนักศึกษาเพียง 15 คน มีนักศึกษาชาย 3 คน

และนักศึกษาหญิง 12 คน นักศึกษาทุกคนจึงเป็นกลุ่มตัวอย่างทีทําการศึกษา

4.1.3.2 ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่าง ประเทศในรายวิชา IBU 1201 Principle of Business

ผู้วิจัยได้จัดให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างทําการทดสอบความรู้ในรายวิชา IBU 1201 Principle of Business ก่อนและหลังการทดลองการจัดการเรียนการสอนโดยใช้

รูปแบบ PBL-CL ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนการทดลอง (Pre-test) และหลังการ ทดลอง (Posttest) มีดังต่อไปนี

ตารางที 4.6 แสดงค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของนักศึกษาสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ รายวิชาIBU 1201 Principle of Business

การทดสอบ n Mean (X ) Standard Deviation

ก่อนใช้การสอนรูปแบบ PBL-CL 15 60.33 21.04

หลังใช้การสอนรูปแบบ PBL-CL 15 76.8 22.36

คําถามวิจัยข้อ 3:

การจัดการเรียนการสอนทีใช้รูปแบบ PBL-CL ทําให้ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนในรายวิชา IBU1201 Principle of Business ของนักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ วิทยาลัยนานาชาติดีขึ นหรือไม่?

จากคําถามวิจัยข้อ 3 ผู้วิจัยได้นํามาตั งเป็นการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ดังต่อไปนี

สมมุติฐาน ข้อ3:

Ho: การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาIBU1201 Principle of Business โดยใช้การสอน รูปแบบ PBL-CLทําให้ค่าเฉลียของคะแนนของนักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ก่อนและหลังการใช้ไม่แตกต่างกัน

H1: การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาIBU1201 Principle of Business โดยใช้การสอน รูปแบบPBL-CLทําให้ค่าเฉลียของคะแนนของนักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศที

เรียนวิขานี เพิมมากขึ น หรือ Ho: μ1 = μ2 และ H1: μ1  μ2

จากผลการทดสอบสมมุติฐาน ข้อ 3 ผู้วิจัยใช้ค่าสถิติ t-test แบบไม่ทราบค่าความแปรปรวนของ ประชากรทั งสองกลุ่ม และทราบว่ามีค่าไม่เท่ากัน (unknown variance and 2122) และ กําหนดให้มีระดับนัยสําคัญ () เท่ากับ 0.05 การประมวลผลข้อมูลผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรม SPSS มาประมวลผลข้อมูล ดังแสดงในตารางที 4.7 ดังนี

ตารางที 4.7 การทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาทีเรียน รายวิชา IBU1201 Principle of Business โดยใช้รูปแบบ PBL-CL ก่อนและหลัง การใช้

การทดสอบ n Mean (X) Standard Deviation t

ก่อนใช้รูปแบบ PBL-CL 15 60.33 21.04 2.077*

หลังใช้รูปแบบ PBL-CL 15 76.8 22.36

* p  .05

ผลการทดสอบจากตารางที 4.7 แสดงว่าเป็นการปฎิเสธสมมุติฐาน Ho เนืองจาก การ ประมวลผลข้อมูลจากโปรแกรม SPSS มีค่า P-value คือ

2 ) 2

( tailed Sig

= 0.0235

2 047 .

0

และค่านี มีค่าน้อยกว่าค่าระดับนัยสําคัญ () เท่ากับ 0.05 ทําให้ p  .05 ดังนั นจึงปฏิเสธ สมมุติฐาน Ho นันคือ ยอมรับ H1

ผลการวิเคราะห์สรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ ทางการเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี

นัยสําคัญทางสถิติ ทีระดับ .05 ซึงเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยทีตั งไว้ แสดงว่า การจัดการเรียน การสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL ในรายวิชาIBU1201 Principle of Business ทําให้ค่าเฉลียของ ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาทีเรียนวิขานี ดีขึ น

4.1.4 ผลการวิจัยเชิงทดลองรายวิชา IBU1201 Principles of Business ของ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโรงแรม

และท่องเทียว

การวิจัยนี เป็นการทดลองใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบใช้ปัญหาเป็น พื นฐานควบคู่กับแบบร่วมมือ หรือรูปแบบPBL-CL กับกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโรงแรม และท่องเทียว ชั นปีที 1 ทีเรียนรายวิชา IBU1201 Principle of Business ผู้วิจัยได้ใช้แบบ แผนการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest Designมีการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างเพียงหนึง กลุ่มเท่านัน มีตัวแปรอิสสระหนึงตัว และมีการวัดผลก่อนและหลังการทดลองเพือศึกษา เปรียบเทียบผล

4.1.4.1 ประชากร และกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาสาขาวิชาการจ้ดการโรงแรม และท่องเทียว

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัยครั งนี คือ นักศึกษาสาขาวิชา การจัดการโรงแรมและท่องเทียว ชั นปีที 1 วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ที

เรียนรายวิชา IBU1201 Principle of Business ในภาคการศึกษาที 1 ปีการศึกษา 2553 เนืองจาก ชั นเรียนนี เป็นชั นเรียนขนาดเล็กมีจํานวนนักศึกษาเพียง 17 คน เป็นนักศึกษาชาย 2 คน และมี

นักศึกษาหญิง 15 คน นักศึกษาทุกคนจึงเป็นกลุ่มตัวอย่างทีทําการศึกษา

4.1.4.2 ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษารายวิชา IBU1201 Principle