• Tidak ada hasil yang ditemukan

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.1.1 ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบPBL-CL ทีมีต่อวิทยาลัย นานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ทีมวิจัยได้จัดทํากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ทีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และ ได้

จัดการอบรมให้ความรู้เรืองการใช้ปัญหาเป็นพื นฐานควบคู่กับรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ หรือ เรียกว่ารูปแบบ PBL- CLให้กับผู้สอนทีร่วมทีมวิจัย ในภาคเรียนที 3/2552 ระหว่างเดือนเมษายน จนถึงดือน พฤษภาคม 2553 ทีมวิจัยได้จัดให้มีการทํา Pilot Study ด้วยการนํารูปแบบ PBL-CL มาทดลองใช้ในการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเทียว ผู้สอนทีเป็นผู้ร่วมทีมวิจัย นําผลการจัดเรียนรู้ทีเกิดขึ นมาตรวจสอบ และมีการประชุมปฏิบัติการร่วมกันเพือเป็นการเเตรียม

การให้ทราบให้ถึงปัญหาและอุปสรรค และหาข้อแก้ไขก่อนการทําวิจัยเชิงทดลองการใช้รูปแบบ PBL-CL กับรายวิชาต่างๆในภาคเรียนที1/2553 ผู้สอนมีการดําเนินการตามขั นตอนดังกล่าวซํ า หลายๆรอบ (ดังแสดงในภาพที 5.1) การวิจัยนี จึงเป็นกระบวนการ ทีสามารถเสริมพลังอํานาจ ผู้สอน เนืองจากผู้สอนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและจากความร่วมมือของคณะผู้วิจัยในวิทยาลัย

ภาพที 5.1 แสดงวงจร P D C A ในการดําเนินงานวิจัย

5.1.2 ผลของการจัดการเรียนการสอนทีใช้รูปแบบ PBL-CL ทีมีต่อผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ

โครงการวิจัยนี เป็นการวิจัยเชิงทดลองเพือหาคําตอบเกียวกับ ผลของการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL เนืองจากวิทยาลัยนานาชาติยังมีจํานวนนักศึกษาไม่มากนัก และบางสาขาวิชามีผู้เรียนเพียง 1 กลุ่มเท่านั น ดังนั น แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองจึงมีหลาย รูปแบบด้วยกัน แต่จะมีคําถามหลักของงานวิจัยนี เหมือนกัน ดังนี

คําถามวิจัยข้อ 1: การจัดการเรียนการสอนทีใช้รูปแบบ PBL-CL ทําให้ผลสัมฤทธิ ทางการเรียน ของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติดีขึ นกว่าการสอนทีไม่ได้ใช้รูปแบบ PBL-CL หรือไม่?

ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติในการจัดการเรียน การสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL โดยสรุปอยู่ในตารางที 5.1 ดังต่อไปนี

P (Plan) วางแผน

D (Do) ดําเนินการ

C (Check) ตรวจสอบ

A (Act) ปรับปรุงแก้ไข

P (Plan) วางแผน

ตารางที 5.1 สรุปผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติใน การจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL

รายวิชา กลุ่มตัวอย่าง สรุปผลการทดลอง

ITI 2304 Buddhism in Thailand

นักศึกษาสาขาวิชา อุตสาหกรรมท่องเทียว

t = 2.457*

การจัดการเรียนการสอน ทีใช้รูปแบบ PBL- CL ทําให้ค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ ทางการ เรียนของนักศึกษาทีเรียนวิชานี ดีขึ น GST1101

Business Mathematics

นักศึกษาสาขาวิชา

บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ และสาขาวิชาการจัดการ โรงแรมและท่องเทียว

t = 3.12*

นักศึกษาทีเรียนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL ใน รายวิชา GST1101 Business

Mathematics มีค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนมากกว่านักศึกษาทีเรียนวิชานี

แบบบรรยาย IBU 1201

Principle of Business

นักศึกษาสาขาวิชา

บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ

t = 2.077*

การจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL ในรายวิชา IBU1201 Principle of Business ทําให้ค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนของนักศึกษาทีเรียนวิชานี ดีขึ น IBU 1201

Principle of Business

นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ โรงแรมและท่องเทียว

t = 4.449*

การจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ PBL-CL ในรายวิชา IBU1201 Principle of Business ทําให้ค่าเฉลียของผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนของนักศึกษาทีเรียนวิชานี ดีขึ น

* p  .05

5.1. 3 ผลของการจัดการเรียนการสอนทีใช้รูปแบบ PBL-CL ทีมีต่อขีด ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลในบทที 4 ผลสอบวัดระดับขีดความสามารถด้าน ภาษาอังกฤษของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติสาขาวิชาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ และสาขา การจัดการโรงแรมและท่องเทียวทีเป็นกลุ่มตัวอย่าง มีค่าระดับ IELTS ของผลสอบปลายภาคดีกว่า ผลสอบในสัปดาห์แรก จะเห็นได้ว่าผลสอบปลายภาคมีค่าระดับIELTS 5.25 ถึง 29.4 % และ ค่า ระดับIELTS 5.5 ของผลสอบปลายภาคมี 5.88% ในขณะทีไม่มีค่าระดับ IELTS 5.25 และค่า ระดับ IELTS 5.5 ในการสอบสัปดาห์แรกของภาคเรียน แสดงว่า การจัดการเรียนการสอน โดยใช้

รูปแบบ PBL ทําให้ขีดความสามารถด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติทีเป็นกลุ่ม ตัวอย่างมีค่าระดับIELTS ดีขึ น

5.1.4

ทัศนคติของนักศึกษาของวิทยาลัยนานาชาติทีมีต่อการจัดการเรียนการ สอนทีใช้รูปแบบ PBL-CL

ผลการสํารวจความคิดเห็นเกียวกับทัศนคติของนักศึกษาของวิทยาลัย

นานาชาติทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนทีใช้รูปแบบ PBL-CL ร้อยละ 80 ของกลุ่มตัวอย่างได้ให้

ความเห็นระดับเห็นด้วยอย่างมาก ถึงมากทีสุด ในด้านการชอบเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ควบคู่

ไปกับการเรียนแบบร่วมมือ และทํากิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม นักศึกษากลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นถึง ร้อยละ 85.7 ในด้านบรรยากาศการเรียนโดยใช้วิธี PBL-CL สนุกสนานไม่น่าเบือ ร้อยละ 90 ของ กลุ่มตัวอย่างได้ให้ความเห็นระดับเห็นด้วยอย่างมาก ถึงมากทีสุด ในด้านการปรึกษาเพือนสมาชิก ในกลุ่ม เกียวกับหัวข้อ “เวลาทีทําการทําโจทย์ปัญหาไม่ได้ฉันจะถามเพือนสมาชิกในกลุ่มก่อนถาม ครู” กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นถึง ร้อยละ 85.7 ถึง 92.9 ในด้านการอธิบายงาน “ฉันคิดว่าการที

เพือนอธิบายการทําโจทย์ปัญหาทําให้ฉันเข้าใจได้ง่ายขึน” และ “ เวลาทีเพือนสมาชิกในกลุ่มทํา โจทย์ปัญหาไม่ได้ ฉันจะอธิบายให้ฟัง” ร้อยละ 78 ของกลุ่มตัวอย่างได้ให้ความเห็นระดับเห็นด้วย อย่างมาก ถึงมากทีสุด ในด้านการทํากิจกรรมเป็นกลุ่มทําให้ฉันมีความมันใจในการเรียนมากขึ น ร้อยละ 85.7 ของกลุ่มตัวอย่างระบุว่า “ต้องการให้วิทยาลัยจัดกระบวนการเรียนการสอนวิธี PBL- CL และทํากิจกรรมเป็นกลุ่มในภาคเรียนหน้า” อย่างไรก็ตามผลจากการสัมภาษณ์ 25% ของกลุ่ม ตัวอย่างบางคนให้ความเห็นว่า เวลาเพือนสมาชิกไม่มาเรียน หรือมาสายทําให้จํานวนสมาชิกใน กลุ่มไม่ครบทีมจึงทําให้ทํางานส่งไม่ทัน และ8% มีความเห็นว่าน่าจะมีการทํางานกลุ่มและเดียว สลับกันไป บางสัปดาห์เรียนแบบสนุกๆแบบฮาๆ