• Tidak ada hasil yang ditemukan

Khao Phanom Rung Festival : Ritual space and a reflection of Buriram's identity

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "Khao Phanom Rung Festival : Ritual space and a reflection of Buriram's identity"

Copied!
331
0
0

Teks penuh

Findings revealed that the history of the Khao Phanom Rung festival is to worship the sacred things in Khao Phanom Rung. Creating cultural identity through the Khao Phanom Rung festival, it was found that the Khao Phanom Rung festival was created by the traditional and the new.

เอกสารที่เกี่ยวกับประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

เอกสารที่เกี่ยวกับพื้นที่พิธีกรรม วิถีชีวิต ความเชื่อในสังคมอีสาน

เอกสารที่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม

บริบทพื้นที่วิจัย

แนวคิดทฤษฏีที่ใช้ในงานวิจัย

แนวคิดที่เกี่ยวข้อง

ทฤษฏีหลัก

ทฤษฎีเสริม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ประวัติอุทยานปราสาทพนมรุ้ง

ประวัติความเป็นมาประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

การแบ่งช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการของงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

พื้นที่ชุมชนอัตลักษณ์และพื้นที่พิธีกรรมทางศาสนาที่ปราสาทพนมรุ้ง

พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งปราสาทพนมรุ้ง

พิธีบวงสรวงบัวแปดกลีบ

พิธีบวงสรวงเจ้าพ่อปราสาททอง

ความเป็นบุรีรัมย์ที่เกิดขึ้นในงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

อัตลักษณ์การแสดงเรือมอัปสราบุรีรัมย์

อัตลักษณ์การแต่งกายด้วยผ้าไหมตีนแดง

อัตลักษณ์ปรากฏการณ์พระอาทิตย์ลอดผ่าน 15 ช่องประตู

กรอบแนวคิดในการวิจัย

แผนผังปราสาทพนมรุ้ง

การรำอัปสราในงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

แผนที่จังหวัดบุรีรัมย์

ตารางอธิบายจุดต่าง ๆ ของปราสาทพนมรุ้ง

สถาปัตยกรรมและโบราณสถาน. ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถานสะพาน นาคราช ถัดจากนั้นเป็นทางเดินทั้งสองข้างประดับด้วยเสามียอดคล้ายดอกบัวตูมเรียกว่า เสานางเรียง จำนวนข้างละ 35 ต้น ทอดตัวไปยังสะพานนาคราช ซึ่งผังกากบาทยกพื้นสูง ราวสะพานทำเป็นลำตัว พญานาค 5 เศียร สะพานนาคราชนี้ ตามความเชื่อเป็นทางที่เชื่อมระหว่างโลกมนุษย์กับเทพเจ้า สิ่งที่. อายุเก่าลงไปอีก คือประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 อยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ องค์ประธาน และที่มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงใต้. สะพานนาคราชหน้าประตูกลางของระเบียงคด อันเป็นเส้นทางหลักที่จะผ่านเข้าสู่ลานชั้นในของ ปราสาท และจากประตูนี้ยังมีสะพานนาคราชรับอยู่อีกช่วงหนึ่งก่อนถึงปรางค์ประธาน. การบูรณะและการเปิดอุทยาน. ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว. 1) ภิกษุ สามเณรในพระพุทธศาสนา หรือนักพรตและนักบวชในศาสนาอื่น. 70 สำนักอังกฤษ British Schood นักมานุษวิทยาทางวัฒนธรรมเช่น Elliot Smith, William J , Perry และ W.H.R. คำว่าวัฒนธรรมคนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าสิ่งที่เป็นความงามสิ่งที่ดีงามสิ่งที่เป็นระเบียบวินัย หรือสิ่งที่ได้รับการพัฒนาให้ดีแล้วเช่นความสวยงามของรูปวาดความไพเราะของดนตรีความซาบซึ้ง ของภาษาและวรรณคดีและระเบียบวินัยในการเข้าชมมหรสพมารยาทในการรับประทานอาหารความ ประณีตในการแต่งกายเป็นต้นหรือบางคนก็เข้าใจว่าหมายถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามต่างๆ ของชาติ เช่นการแต่งงานประเพณีงานบวชเป็นต้นความเข้าใจดังกล่าวแท้จริงแล้ววัฒนธรรมมีความ กว้างโดยความหมายทางสังคมศาสตร์นั้นหมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในสังคมมนุษย์ไม่ว่าจะเป็น ทางวัตถุธรรมหรือนามธรรม (เสาวรัตน์ ทศศะ, 2556) สรุปได้ว่าทฤษฎีการแพร่กระจายผู้วิจัยนำมาใช้. ในการเป็นข้อมูลศึกษาด้านสังคมวิทยา ประวัติศาสตร์ และภาษาศาสตร์. กับสภาพสังคมที่แตกต่างกันออกไปโดยเฉพาะในกรณีของคนมอญย้ายถิ่นที่เป็นแรงงานข้ามชาติ. 72 สำนึกโดยหวนคืนสู่ความเป็นรากเหง้าและนำความเป็นมอญกลับมาปรับเปลี่ยนและอธิบายให้. ยุทธกาน ดิสกุล, 2553) ได้ศึกษาเรื่องประเพณีประดิษฐ์และอัตลักษณ์ของชุมชนคลอง แห พบว่า ภายใต้กระบวนการประเพณีประดิษฐ์ที่เกิดขึ้นที่ตลาดน้ำคลองแห ได้สะท้อน ให้เห็นถึง การเป็นพื้นที่ของการต่อรองทางความหมายของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ รวมไปถึงยัง กลายเป็นพื้นที่ของการแย่งมวลชนจากชาวบ้านในท้องถิ่นและกลุ่มนักท่องเที่ยว ระหว่างกลุ่ม คณะกรรมการวัดคลองแหและกลุ่มเทศบาลเมือง เพื่อให้กลุ่มของตนสามารถสร้างฐานอำนาจและ ได้รับผลประโยชน์มากที่สุด ภายใต้กระบวนการรื้อฟื้นวัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านการอนุรักษ์ ละครเวที.

พระอาทิตย์ช่องประตูปราสาทเขาพนมรุ้ง

สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพฯ เสด็จปราสาทพนมรุ้ง

การบูรณะปราสาทพนมรุ้ง

กรมสมเด็จพระเทพฯ เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดอุทยาน

หน้าบันพระศิวะที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง

สะพานนาคราชชั้นที่ 3

สะพานนาคราชชั้นที่ 1 ก่อนและหลังการบูรณะ

ปราสาทประธานทางทิศใต้ ก่อนและหลังการบูรณะ

หน้าบันทศกัณฐ์ลักพระนางสีดาและทับหลังพระกฤษณะปราบช้างและสิงห์ ก่อน

บริเวณปรางค์น้อยปราสาทเขาพนมรุ้ง ก่อนและหละงการบูรณะ

ด้านหน้าทิศตะวันออก ปรางค์ประธานปราสาทเขาพนมรุ้ง

เรือนธาตุหรือปราสาทประธาน

ส่วนประกอบของปรางค์ประธานปราสาทเขาพนมรุ้ง

เครื่องบนหรือยอดของปราสาทเขาพนมรุ้ง

เสาติดผนัง

เสาประดับกรอบประตู

ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์

หน้าบัน

สะพานนาคราช

ภาพสลักเทพพาหนะ

ภาพที่ค้นพบและรูปปั้นจำลองเทพพาหนะทั้ง 10 ทิศ

แผนผังแสดงประวัติคว่ามเป็นมาอุทยานปราสาทพนมรุ้ง

ซากปรักหักพังปราสาทเขาพนมรุ้ง

ขบวนแห่งานขึ้นเขาพนมรุ้ง

สืบสานงานประเพณีปีละครั้งขึ้นเขาพนมรุ้ง

ตราสัญลักษณ์งานขึ้นเขาพนมรุ้ง

ระเบียบการประชุมวางแผนงาน

บรรยากาศข้างในงานบริเวณตลาด

บรรยากาศการท่องเที่ยวภายในงาน

การจัดงานแถลงข่าวประชาสัมพันธ์

เหล่านางรำอัปสราร่วมเดินขบวนก่อนจะทำการแสดง

ถือป้ายนำขบวน

กลุ่มหญิงสาวชาวบ้านที่ถือเครื่องบวงสรวง

การแต่งกายชายทหารที่ถือเครื่องสูงในขบวน

การแต่งกายพราหมณ์ชาย

แผนผังจำลองขบวนเทิดพระเกียรติ

แผนผังจำลองขบวนพราหมณ์

แผนผังจำลองขบวนเทพพาหนะทั้ง 10 ทิศ

ป้ายนำขบวนเทิดพระเกียรติ

การแสดงในขบวน

ขบวนพราหมณ์ อัญเชิญพระศิวะมหาเทพ

ขบวนพราหมณ์ อัญเชิญพระศิวะมหาเทพ

หงส์

ช้าง

โค

ระมาด

คชสีห์

นกยูง

พญานาคราช

ม้า

รากษส

กระบือ

พระนางภูปตินทรลักษมีเทวี

ขบวนจำลองการเสด็จของพระนางภูปตินทรลักมีเทวี

รวมดารานักแสดงที่รับบทเป็นพระนางภูปตินทรลักมีเทวี

นางรำอัปสราบริเวณลานขบวนแห่

นางรำอัปสราส่วนด้านบนตามขั้นบันไดปราสาทพนมรุ้ง

การแสดงเรือมอัปสราในงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

แผนผังแสดงประวัติความเป็นมาของประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

การขึ้นเขาพนมรุ้งในอดีต

ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง พ.ศ.2540

ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง พ.ศ.2564

ขบวนแห่ในงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง พ.ศ.2564

การเคลื่อนขบวนแห่ของนางอัปสราในงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง พ.ศ.2564

ตารางการแบ่งช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการของงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง

156 โดยดวงอาทิตย์ขึ้นที่ประตู 15 ในช่วงต้นเดือนเมษายน เป็นระยะเวลาประมาณ 1 เดือน ช่วงนี้น่าจะเป็นเดือนศักดิ์สิทธิ์ที่คนในสมัยนั้นมาทำพิธีสักการะพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่วัดพนมรุ้ง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่วัดพนมรุ้งที่ผู้คนศรัทธานั้นมีมากมาย เช่น ดอกบัวแปดกลีบซึ่งตั้งตระหง่านอยู่กลางสะพานนครราชชั้นที่หนึ่ง และสะพานนาคราชชั้นที่ 2 หน้าโคปุระ ทิศตะวันออกมีอักขระสลักอยู่ในหินและมียันต์ล้อมรอบเป็นเส้นสองสามบรรทัดขนานกับราวบันไดของสะพานหลัก ยันต์ผูกเป็นรูปใบบัว ประเภทนี้มีความหมายหลายประการ บางคนว่ากลีบบัว 8 กลีบนี้อาจหมายถึง 8 ทิศทางของจักรวาลและเทพเจ้า 8 องค์ใน 8 ทิศทางในศาสนาฮินดูหรืออาจเป็นยันต์สำหรับบูชาและประกอบพิธีกรรมเพื่อป้องกันอันตรายทั้งปวงเป็นศูนย์กลางของจักรวาลหรือ บางทีอาจเป็นจุดที่กำหนดให้บูชาเทพเจ้าและขอความคุ้มครองจากเทพเจ้าหรือขอพรอันดี รูปสลักศักดิ์สิทธิ์ของโยคะก ทักษิณมูรติ อยู่ที่หน้าจั่วด้านนอกของโคปุระ ตรงกลางระเบียงหันหน้าไปทางทิศใต้ ตะวันออกโดยสลับภาพตรงกลางกับภาพพระศิวะในแดนทักษิณามูรติซึ่งรักษาโรคและอาจเป็นไปได้ หมายความว่าท่านศึกษาธนาธิปผู้สร้างปราสาทพนมรุ้งซึ่งบวชเป็นโยนีและมีความสามารถในการรักษา ความเจ็บป่วยสามารถทำให้ผู้ที่มีศรัทธาและความเชื่อเชื่อว่าผู้ที่มาสักการะหากผ่านโคปุระนี้จะปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ พระอิศวร linga เป็นเทวรูปที่สำคัญที่สุดที่เป็นสัญลักษณ์ของพระศิวะและวางไว้ในห้อง Garbhagriha พระอาทิตย์ส่องแสงสีแดงบนพระศิวะลึงในเนินเขาสีแดงที่สวยงามอย่างไม่น่าเชื่อ

บริเวณหน้าปราสาทที่ใช้ในการประกอบพิธีบวงสรวง

การประกอบพิธีบวงสรวงหน้าปราสาท

ผู้ว่าราชการจังหวัดจุดธูปเทียนในพิธี

หน่วยงานส่วนราชการผู้เข้าประกอบพิธี

ลานบริเวณการประกอบพิธีบวงสรวงบัวแปดกลีบ

การรำบวงสรวงบริเวณลานพิธีหน้าปราสาท

การจัดเตรียมสถานที่ประกอบพิธีบริเวณลานหน้าปราสาท

การเคารพเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ก่อนการรำบวงสรวง

คุณนายผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ร่วมประกอบพิธีบวงสรวง

ประชาชนที่เข้าร่วมในพิธีบวงสรวง

อุปกรณ์และเครื่องที่ใช้ในการบวงสรวง

เครื่องไหว้บวงสรวง

เครื่องที่ใช้ในการบวงสรวง

คณะพราหมณ์ผู้ประกอบพิธีบวงสรวง

การรำบวงสรวงเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์

การรำบวงสรวงหน้าลานพิธีบวงสรวง

เข้าสัมภาษณ์ข้อมูลเจ้าหน้าที่สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์

บริเวณสะพานชั้นที่ 1

การรำบวงสรวงบริเวณบัวแปดกลีบ

ประชาชนเข้าสักการะบัวแปดกลีบบริเวณสะพานชั้นที่ 1

ผู้ว่าราชการจังหวัดและคณะเข้าสักการะและต่อด้วยขบวนแห่

การแสดงใต้ร่มพนมรุ้งนักแสดงจากโรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม

บริเวณที่ตั้งศาลเจ้าพ่อปราสาททอง

คณะผู้ว่าราชการจังหวัดและประชาชน

การประกอบพิธีสงฆ์ ณ บริเวณพิธีบวงสรวง

คณะผู้นำชุมชนปักหางธูปเครื่องเส้นไหว้

เครื่องเซ่นไหว้สักการะศาลเจ้าพ่อปราสาททอง

ลานบริเวณศาลเจ้าพ่อปราสาททอง

การรำบวงสบวง ณ ศาลเจ้าพ่อปราสาททอง

Referensi

Dokumen terkait