• Tidak ada hasil yang ditemukan

กลุ่ม สพป. จ านวนประชากร จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

เขตตรวจราชการที่ 10 หนองบัวล าภู เขต 1 201 24

เขตตรวจราชการที่ 11 มุกดาหาร 244 30

เขตตรวจราชการที่ 12 ขอนแก่น เขต 3 179 22

เขตตรวจราชการที่ 13 อุบลราชธานี เขต 1 239 29

เขตตรวจราชการที่ 14 บุรีรัมย์ เขต 3 210 25

รวม 1,073 130

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด

1) ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแบบประเมิน 2) ก าหนดประเด็นส าคัญที่จะประเมินสร้างเป็นข้อค าถามให้ครอบคลุมทุก ประเด็น

3) สร้างแบบประเมินโดยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert rating scale) โดยก าหนดเกณฑ์ดังนี้

5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

4) น าแบบประเมินที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณา ตรวจสอบความครอบคลุมและตรงประเด็นในเนื้อหาสาระ แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง

5) เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ดัชนี

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (CVI) พบว่า มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00

6) จัดท าแบบประเมินฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2 แบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด

1) ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถาม

133 2) น าองค์ประกอบและตัวชี้วัดสร้างแบบสอบถามโดยมีลักษณะเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert rating scale) โดยก าหนดเกณฑ์

ดังนี้

5 หมายถึง มีความส าคัญมากที่สุด 4 หมายถึง มีความส าคัญมาก 3 หมายถึง มีความส าคัญปานกลาง 2 หมายถึง มีความส าคัญน้อย 1 หมายถึง มีความส าคัญน้อยที่สุด

3) น าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณา ตรวจสอบความครอบคลุมและตรงประเด็นในเนื้อหาสาระ แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง

4) เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ดัชนี

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (CVI) พบว่า มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00

5) น าแบบสอบถามไปทดลอง (Try out) กับกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน แล้วน าผลมาวิเคราะห์ค่าอ านาจจ าแนก โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

ของเพียร์สัน พบว่า มีอ านาจจ าแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .55-.83 และความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธิ์

แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) พบว่า มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .94 6) จัดท าแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.3 ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการวิจัย/วัดผลหรือการบริหาร การศึกษา

2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไปหรือรอง ผู้อ านวยการส านักขึ้นไป

ผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย

1. รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป คุณวุฒิ กศ.ด. สาขา วิจัยและประเมินผล

การศึกษา รองผู้อ านวยการส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษขั้นพื้นฐาน 3. รองศาสตราจารย์ ดร.รังสรรค์ โฉมยา คุณวุฒิ วท.ด. สาขาการวิจัย พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

134 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชชัย จิตรนันท์ คุณวุฒิ ค.ด.

สาขาการอุดมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. การเก็บรวบรวบข้อมูล

4.1 ผู้วิจัยน าหนังสือขอความอนุเคราะห์พร้อมด้วยแบบประเมินติดต่อกับ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จ านวน 9 ฉบับ ได้รับคืน จ านวน 9 ฉบับ (ร้อยละ 100)

4.2 ผู้วิจัยน าหนังสือขอความอนุเคราะห์พร้อมด้วยแบบสอบถามติดต่อกับ กลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จ านวน 200 ฉบับ ได้รับคืน จ านวน 173 ฉบับ (ร้อยละ 86.50)

5. การจัดกระท าและวิเคราะห์ข้อมูล

5.1 แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด 1) ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบประเมิน

2) วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วแปลความหมายตาม เกณฑ์ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง เหมาะสมมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง เหมาะสมน้อย 1.00 - 1.50 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด 5.2 แบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด 1) ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบสอบถาม

2) วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วแปลความหมายตาม เกณฑ์ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง มีความส าคัญมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความส าคัญมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความส าคัญปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความส าคัญน้อย 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความส าคัญน้อยที่สุด 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

6.1 ค่าเฉลี่ย (Mean)

6.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

135 6.3 ดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity index)

6.4 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson product moment correlation)

6.5 สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) ตอนที่ 2 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิง กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. ขั้นตอนด าเนินการ

1.1 ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาการนิเทศภายในตาม แนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดหลักของ ชารี มณีศรี (2542), สงัด อุทรานันท์ (2548), กรองทอง จิรเดชากุล (2550), วัชรา เล่าเรียนดี (2552), จุไรรัตน์ สุดรุ่ง (2559) และวันวิสาข์ สิงห์อุ่ (2559)

1.2 สังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็น 4 องค์ประกอบ 19 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การวิเคราะห์

สภาพแวดล้อม 3 ตัวชี้วัด 2) การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ 7 ตัวชี้วัด 3) การปฏิบัติการ เยี่ยมชั้นเรียน 4 ตัวชี้วัด และ 4) การประเมินและสรุปผล 5 ตัวชี้วัด

1.3 น าร่างองค์ประกอบและตัวชี้วัดเสนอผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบยืนยันและ ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด

1.4 สร้างแบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด 1.5 ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.6 น าข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน อันดับที่สอง

2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล/ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 9 คน ก าหนดเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

1) อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา จ านวน 3 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

1.1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการบริหารการศึกษาหรือ ด้านวิจัยและพัฒนาหลักสูตร

1.2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป

136 2) ผู้บริหารการศึกษาหรือผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา หรืออดีตผู้บริหารการศึกษาหรือผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา จ านวน 3 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

2.1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการบริหารการศึกษาหรือ ด้านนิเทศการศึกษา

2.2) มีประสบการณ์ด้านการบริหารการศึกษาอย่างน้อย 5 ปี

3) ผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 3 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

3.1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการบริหารการศึกษา 3.2) มีประสบการณ์ด้านการบริหารสถานศึกษาอย่างน้อย 5 ปี

ผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วย

1. ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ คุณวุฒิ ปร.ด.

สาขา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉลาด จันทรสมบัติ คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4. ดร.สุวิทย์ มูลค า คุณวุฒิ PH.D. (Education) อดีตผู้อ านวยการ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1

5. ดร.สุภพ ไชยทอง คุณวุฒิ ค.ด. สาขา การบริหารจัดการ การศึกษา ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

6. ดร.วีระพงษ์ เทียมวงษ์ คุณวุฒิ ศษ.ด. สาขา นิเทศการศึกษา ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2

7. ดร.ศุภณัฐ อินทร์งาม คุณวุฒิ กศ.ด. สาขา การบริหารและ พัฒนาการศึกษา ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านโพนครก

8. ดร.บัญชา สุริยะสุขประเสริฐ คุณวุฒิ ค.ด. สาขา การบริหาร การศึกษา ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านธาตุ (ธาตุศึกษาวิทยา) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

9. ดร.มนูญ เพชรมีแก้ว คุณวุฒิ กศ.ด. สาขา การบริหารและ พัฒนาการศึกษา ผู้อ านวยการโรงเรียนบรบือวิทยาคาร

Dokumen terkait