• Tidak ada hasil yang ditemukan

จากแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องสรุปได้ว่า การนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์

หมายถึง กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ในการด าเนินงานนิเทศภายในเพื่อให้องค์กรบรรลุ

วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน และการประเมินและสรุปผล

องค์ประกอบการนิเทศภายใน 1. ตรวจสอบสภาพแวดล้อม 2. การวางแผน

3. ปฏิบัติ (การเยี่ยมชั้นเรียน ประเมิน) 4. การสะท้อนผล

การจัดการเชิงกลยุทธ์

1. การวิเคราะห์กลยุทธ์

2. การก าหนดกลยุทธ์

3. การน ากลยุทธ์ไปใช้

4. การประเมินผลและการควบคุม กลยุทธ์

รูปแบบการนิเทศ ภายในตามแนวคิด

การจัดการเชิงกล ยุทธ์เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน

ให้มีทักษะ การเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ของ

โรงเรียนสังกัด ส านักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

ในศตวรรษที่ 21

1. ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์และ นวัตกรรม

2. ทักษะด้านการคิดเชิงวิพากษ์และ การแก้ไขปัญหา

3. ทักษะด้านการสื่อสารและมีส่วนร่วม

กระบวนการนิเทศ ภายในฯ 1. การวิเคราะห์

สภาพแวดล้อม 2. การวางแผนการ นิเทศภายในเชิงกล ยุทธ์

3. การปฏิบัติการ เยี่ยมชั้นเรียน 4. การประเมินและ สรุปผล

115 โดยที่กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นแนวคิดและวิธีการที่ดีที่สุดในการพัฒนาการด าเนินงานให้มี

ประสิทธิภาพ และประสบผลส าเร็จ แต่ทั้งนี้ยังไม่มีการศึกษาวิจัยในลักษณะที่เป็นการน าเอา การจัดการเชิงกลยุทธ์เข้ามาใช้พัฒนากระบวนการนิเทศภายในที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยในประเทศ

การนิเทศภายในโรงเรียน

สุรีย์มาศ สุขกสิ (2549) ได้ศึกษาเรื่อง การนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีขั้นตอน การด าเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ 1) การส ารวจข้อมูลพื้นฐาน 2) การสร้างรูปแบบการนิเทศภายใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) การตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและ 4) การประเมินรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการนิเทศ ภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1) ด้านการให้ความช่วยเหลือแก่ครูโดยตรง 2) ด้านการพัฒนาทักษะการท างานเป็นกลุ่ม 3) ด้านการพัฒนาหลักสูตร 4) ด้านการเสริมสร้าง ประสบการณ์ทางวิชาชีพ และ 5) ด้านการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยที่ผู้บริหารและครูผู้สอน มีความต้องการในการนิเทศภายในสถานศึกษา เรียงล าดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับ คือ

1) ด้านการให้ความช่วยเหลือแก่ครูโดยตรง 2) ด้านการพัฒนาทักษะการท างานกลุ่ม 3) ด้านการ พัฒนาหลักสูตร

วรรณพร สุขอนันต์ (2550) ได้ศึกษาเรื่อง รูปแบบการนิเทศภายในส าหรับ

สถานศึกษาขนาดเล็ก มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอรูปแบบการนิเทศภายในส าหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก โดยด าเนินการวิจัย 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหา และความจ าเป็นในการนิเทศภายใน สถานศึกษา ระยะที่ 2 การสร้างรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก ระยะที่ 3 การทดลองรูปแบบ ระยะที่ 4 การเสนอรูปแบบ จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า มีปัจจัยที่ส าคัญ ต่อการนิเทศภายใน 8 ปัจจัย ได้แก่ 1) การวางแผนกลยุทธ์ 2) เทคนิคการนิเทศ 3) บทบาทหน้าที่

4) การประเมินผล 5) การสร้างเครือข่าย 6) การพัฒนา 7) สื่อและเครื่องมือนิเทศ และ 8) มนุษยสัมพันธ์

สุภาภรณ์ กิตติรัชดานนท์ (2551) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการนิเทศ การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบ การนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีวิธีด าเนินการวิจัย แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาความต้องการการนิเทศการเรียนการสอนของผู้บริหาร

116 สถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) การสร้างรูปแบบการนิเทศ การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) การทดลองใช้รูปแบบการนิเทศ การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) การประเมินรูปแบบการนิเทศ การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบ การนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วยประเด็น หลัก 7 ด้าน และ 23 ประเด็นย่อย 2) รูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อน าไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สามารถปฏิบัติตามรูปแบบที่ก าหนดไว้ในรูปแบบได้อย่างเป็นรูปธรรม ผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูผู้สอนมีความพึงพอใจ 3) รูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์และความถูกต้อง อยู่ในระดับมาก

นิตยา เทพอรุณรัตน์ (2557) ที่ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียน มาตรฐานสากลในประเทศไทย พบว่า องค์ประกอบที่มีค่าดัชนีความต้องการจ าเป็นสูงสุด แต่ละ องค์ประกอบดังนี้ 1) ระดับในการก าหนดเป้าประสงค์ 2) กระบวนการในการก าหนดเป้าประสงค์

3) ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์กับการตัดสินใจ 4) ลักษณะของกระบวนการตัดสินใจ 5) ลักษณะของโครงสร้างที่การก าหนดสายการบังคับบัญชาเป็นแบบแนวขวางหรือแนวนอน 6) ความเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมที่ลักษณะการติดต่อการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและ หน่วยงานภายนอกโรงเรียนโดยผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการประสานงาน 7) แบบของการน า ความสามารถในการน าที่ผู้บริหารเป็นผู้แสวงหาฉันทามติ และ 8) รูปแบบภาวะผู้น า

เพ็ญวิภา พรหมสุวรรณ (2558) ได้ศึกษาเรื่อง อนาคตภาพของการนิเทศการศึกษา ส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556-2565) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา อนาคตภาพของการนิเทศการศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556- 2565) และ 2) ศึกษาแนวทางในการเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของการนิเทศการศึกษา ส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556-2565) ผลการวิจัยพบว่า 1) อนาคตภาพ ของการนิเทศการศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556-2565) พบว่า มี 8 ด้านที่จะส่งผลกระทบต่อการนิเทศการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้าได้แก่ 1.1) ด้านบทบาท หน้าที่ของผู้นิเทศ 1.2) ด้านขอบข่ายของการนิเทศการศึกษา 1.3) ด้านรูปแบบของการนิเทศ 1.4) ด้านเทคนิคหรือวิธีการนิเทศ 1.5) ด้านการจัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่

ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 1.6) ด้านการจัดการศึกษาเพื่อให้

สอดคล้องกับการศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 1.7) ด้านการปฏิบัติตนตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของ ศึกษานิเทศก์ตามข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และ 1.8) ด้านการ

117 เปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างการบริหารของหน่วยงานของศึกษานิเทศก์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 2) แนวทางในการเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของการนิเทศการศึกษาส าหรับ สถานศึกษาในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556-2565) คือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศการศึกษา ซึ่งได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษา สถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษาขององค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น ควรเตรียมการรับการเปลี่ยนแปลงด้านการนิเทศการศึกษาส าหรับสถานศึกษาในอนาคตใน ประเด็นใหญ่ ๆ ดังนี้ 1) การใช้วิจัยเป็นฐาน (Research–based Supervision) 2) การใช้สื่อและ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT & Online Technology) 3) การใช้เครือข่ายเพื่อการนิเทศ (Network–

base Supervision) และ 4) การนิเทศเพื่อการก ากับติดตามและการประเมินผล (Supervision for Directing Controlling และEvaluation)

ณัฐพงศ์ ทับสุลิ (2559) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบการนิเทศภายในโดยใช้

ทีมงานเป็นฐาน ส าหรับโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ ดังนี้ 1) ระบบการนิเทศภายในโดยใช้ทีมงานเป็นฐานส าหรับโรงเรียน

ประถมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถแบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบหลัก ประกอบด้วย ด้านปัจจัยน าเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิตและผลลัพธ์

และด้านข้อมูลย้อนกลับ 2) สภาพปัจจุบันของระบบการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมมีการด าเนินการอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์โดยภาพรวมมีความพึงประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด 3) ระบบการนิเทศ ภายในโดยใช้ทีมงานเป็นฐานที่พัฒนาขึ้นและ 4) การประเมินผลการใช้ระบบการนิเทศภายใน โดยใช้ทีมงานเป็นฐาน ส าหรับโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เป็นดังนี้ 4.1) ทีมงานนิเทศทั้ง 2 โรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการนิเทศภายใน โดยใช้ทีมงานเป็นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน และมีความสามารถในการนิเทศภายในโดยใช้

ทีมงานเป็นฐาน ซึ่งสามารถปฏิบัติได้อยู่ในระดับสูงขึ้นไปทุกคน 4.2) ครูผู้สอนที่ได้รับการนิเทศภายใน ทั้ง 2 โรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนผ่านเกณฑ์การประเมิน ทุกคน และสามารถจัดการเรียนการสอนได้ในระดับดีทุกคน 4.3) ครูผู้สอนที่ได้รับการนิเทศภายใน ทั้ง 2 โรงเรียน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนพัฒนาดีขึ้น และ 4.4) ทีมงาน นิเทศทั้ง 2 โรงเรียน มีความพึงพอใจต่อการใช้ระบบนิเทศภายในโดยใช้ทีมงานเป็นฐานอยู่ในระดับ มากที่สุด และคณะครูภายในโรงเรียนที่ได้รับการนิเทศภายในทั้ง 2 โรงเรียนมีความพึงพอใจต่อ การนิเทศภายในอยู่ในระดับมากที่สุด

ศุภลักษณ์ มีปาน (2562) ได้ศึกษาเรื่อง รูปแบบการนิเทศภายในส าหรับการจัดการ เรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการนิเทศภายในส าหรับ

Dokumen terkait