• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์องค์ประกอบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนา

คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของนักวิชาการ

องค์ประกอบการจัดการเชิงกลยุทธ์ ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบ 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

2. ตรวจสอบสภาพแวดล้อม 2. การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ 1. การก าหนดกลยุทธ์

2. การวางแผน 3. การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน 1. การน ากลยุทธ์ไปใช้

2. การปฏิบัติ (การเยี่ยมชั้นเรียน ประเมิน) 4. การประเมินและสรุปผล 1. การประเมินผลกลยุทธ์

2. การสะท้อนผล

จากตาราง 7 การสังเคราะห์องค์ประกอบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิง กลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) การวิเคราะห์

สภาพแวดล้อม 2) การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ 3) การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียนและ 4) การประเมินและสรุปผล

ผู้วิจัยได้สรุปรูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้น าเอาผลการศึกษาการจัดการเชิงกลยุทธ์เข้ามาพัฒนา กระบวนการนิเทศภายในโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) โดยใช้กรอบ การนิเทศภายในโรงเรียน 4 องค์ประกอบ ดังนี้

1. ด้านการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม รูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การที่ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกัน

110 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปัญหาร่วมกันในการน าข้อมูลไปจัดล าดับความส าคัญของ

การแก้ปัญหา ประกอบด้วย

1.1 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของผู้เรียน 1.2 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและก าหนด ทางเลือกในการแก้ปัญหาของผู้เรียน

1.3 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันจัดล าดับความส าคัญของปัญหา

2. ด้านการวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ รูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิด การจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียน สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง กระบวนการก าหนดเป้าหมายที่ต้องการ นิเทศ โดยการระดมความคิดรวบรวมการแก้ปัญหา เพื่อน ามาวางแผนหาแนวทางการจัดหาสื่อและ เครื่องมือ เพื่อท าแผนนิเทศภายในร่วมกันตามแนวทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย

2.1 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันก าหนดเป้าหมายที่ต้องการในการนิเทศ 2.2 การระดมความคิดและรวบรวมปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนเพื่อน ามาวิเคราะห์และ

วางแผนการนิเทศ

2.3 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันก าหนดแนวทางและวิธีการ

2.4 การก าหนดวิธีการ ควบคุม ก ากับติดตามและประเมินผลการนิเทศภายในไว้

อย่างชัดเจน

2.5 การจัดหาสื่อและเครื่องมือการนิเทศอย่างเหมาะสม

2.6 การปรับปรุงวิธีการนิเทศภายในให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันปัญหาและ ความต้องการจ าเป็น

2.7 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันจัดท าแผนการนิเทศภายใน

3. ด้านการปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน รูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การที่ผู้นิเทศด าเนินการนิเทศตามล าดับ ขั้นตอนและกิจกรรมที่ก าหนดไว้ตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่ก าหนด เพื่อน ามาวิพากษ์การจัดการ เรียนรู้อย่างกัลยาณมิตรส าหรับพัฒนาผู้เรียน ประกอบด้วย

3.1 ผู้นิเทศด าเนินการนิเทศตามล าดับขั้นตอนและกิจกรรมที่ก าหนดในแผนการ นิเทศ

3.2 ผู้นิเทศด าเนินการนิเทศตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่ก าหนด

111 3.3 หลังการนิเทศ ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศวิพากษ์ผลการปฏิบัติการนิเทศและ วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างกัลยาณมิตร

3.4 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศทบทวนและสรุปประเด็นจากผลการนิเทศ เพื่อพัฒนาผู้เรียน

4. ด้านการประเมินและสรุปผล รูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การตรวจสอบความส าเร็จของการด าเนินการ นิเทศที่ก าหนดไว้ด้วยการสะท้อนผลการสอนเพื่อน าไปพัฒนาคุณภาพศึกษาต่อไป ประกอบด้วย

4.1 ผู้นิเทศตรวจสอบความส าเร็จของการนิเทศภายใน เกี่ยวกับทักษะการเรียนรู้

ในศตวรรษที่ 21 โดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้

4.2 ผู้รับการนิเทศได้ประเมินนักเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

4.3 ผู้นิเทศประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ

4.4 ประชุมสรุปผลและสะท้อนการนิเทศโดยถอดบทเรียนจากผลการนิเทศ 4.5 ผู้นิเทศสรุปผลและจัดท ารายงานผลการนิเทศภายในเพื่อพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง

จากการศึกษาองค์ประกอบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้วิจัยได้สรุปออกมาเป็นตัวชี้วัดและก าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการที่

ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ ปรากฏดังตาราง 8

112

Dokumen terkait