• Tidak ada hasil yang ditemukan

1. น าองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ที่ได้จากระยะที่ 1 สร้างแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพ ที่พึงประสงค์

2. เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

3. วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

4. วิเคราะห์ความต้องการจ าเป็น 5. จัดล าดับความต้องการจ าเป็น ระยะที่ 2

ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึง ประสงค์และความต้องการจ าเป็น ของการนิเทศภายในตามแนวคิด การจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ทราบสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และ ความต้องการจ าเป็นของ การนิเทศภายในตาม แนวคิดการจัดการเชิงกล ยุทธ์ฯ

1. น าข้อมูลจากระยะที่ 2 ไป จัดท ารูปแบบฯ 2. ยกร่างรูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการ จัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มี

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ฉบับที่ 1) 3. ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้

ของรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

ระยะที่ 3 การพัฒนารูปแบบการนิเทศ ภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21

ได้รูปแบบการนิเทศ ภายในตามแนวคิดการ จัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21ฯ ขั้นตอนด าเนินการ

ระยะการวิจัย ผลที่คาดหวัง

ระยะที่ 1

ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการ นิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

1. ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2. สังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัด 3. ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและ ตัวชี้วัดโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

4. สร้างแบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบ และตัวชี้วัด

5. เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 6. วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง

1.1 ได้องค์ประกอบและ ตัวชี้วัดทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21

1.2 ได้องค์ประกอบและ ตัวชี้วัดการนิเทศภายใน ตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

1. น ารูปแบบไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย 2. ประเมินผลการใช้รูปแบบฯ 3. ประเมินทักษะการนิเทศภายในฯ 4. ประเมินความพึงพอใจการใช้รูปแบบฯ 5. สรุปและรายงานผลการวิจัย

ระยะที่ 4

การน ารูปแบบการนิเทศภายในตาม แนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ไปใช้

รูปแบบการนิเทศภายในฯ บรรลุผลตามเป้าหมายที่

ก าหนด

129 ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. ขั้นตอนด าเนินการ

1.1 ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โดยใช้แนวคิดหลักของ Partnership for 21 Century Skills (2009), Chapman (2010), Kay and Greenhill (2011), วิจารณ์ พานิช (2555), พรทิพย์ ศิริภัทราชัย (2556), เอกชัย พุทธสอน (2556), พงษ์ศักดา นามประมา (2557), วิภาวี ศิริลักษณ์, 2557), สุคนธ์ สินธพานนท์ (2558), อดุลย์

ไพรสณท์ (2558) และเบญจวรรณ ถนอมชยธวัช (2559)

1.2 สังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัดทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็น 3 องค์ประกอบ 26 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 9 ตัวชี้วัด 2) การคิดเชิงวิพากษ์

และการแก้ไขปัญหา 9 ตัวชี้วัด และ 3) การสื่อสารและมีส่วนร่วม 8 ตัวชี้วัด

1.3 น าร่างองค์ประกอบและตัวชี้วัดเสนอผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบยืนยันและ ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด

1.4 สร้างแบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด 1.5 ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.6 น าข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน อันดับที่สอง

2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล/ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 9 คน ก าหนดเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

1) อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา จ านวน 3 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

1.1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการบริหารการศึกษาหรือ ด้านวิจัยและพัฒนาหลักสูตร

130 1.2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป

2) ผู้บริหารการศึกษาหรือผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา หรืออดีตผู้บริหารการศึกษาหรือผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา จ านวน 3 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

2.1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการบริหารการศึกษาหรือด้าน นิเทศการศึกษา

2.2) มีประสบการณ์ด้านการบริหารการศึกษาอย่างน้อย 5 ปี

3) ผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 3 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

3.1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการบริหารการศึกษา 3.2) มีประสบการณ์ด้านการบริหารสถานศึกษาอย่างน้อย 5 ปี

ผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วย

1. ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ คุณวุฒิ ปร.ด. สาขาการบริหาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉลาด จันทรสมบัติ คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4. ดร.สุวิทย์ มูลค า คุณวุฒิ PH.D. (Education) อดีตผู้อ านวยการ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1

5. ดร.สุภพ ไชยทอง คุณวุฒิ ค.ด. สาขาการบริหารจัดการการศึกษา ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

6. ดร.วีระพงษ์ เทียมวงษ์ คุณวุฒิ ศษ.ด. สาขานิเทศการศึกษา ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2

7. ดร.ศุภณัฐ อินทร์งาม คุณวุฒิ กศ.ด. สาขาการบริหารและ พัฒนาการศึกษา ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านโพนครก

8. ดร.บัญชา สุริยะสุขประเสริฐ คุณวุฒิ ค.ด. สาขาการบริหารการศึกษา ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านธาตุ (ธาตุศึกษาวิทยา) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์

เขต 2

131 9. ดร.มนูญ เพชรมีแก้ว คุณวุฒิ กศ.ด. สาขาการบริหารและ

พัฒนาการศึกษา ผู้อ านวยการโรงเรียนบรบือวิทยาคาร 2.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

1) ประชากร ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2563 จ านวน 12,148 โรงเรียน

2) กลุ่มตัวอย่าง เป็นโรงเรียนประถมศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2563 จ านวน 130 โรงเรียน การวิจัยระยะนี้เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ซึ่งการก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง Hair และคณะ (2010) เสนอว่าจะต้องไม่ต่ ากว่า 100 ตัวอย่าง และมีสัดส่วนจ านวนเท่าของตัวอย่างต่อจ านวนพารามิเตอร์ที่ต้องการประมาณค่าเป็น 5-10 ตัวอย่าง ต่อหนึ่งพารามิเตอร์ ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างจึงมีจ านวน 130 คน จ าแนกเป็นหัวหน้าวิชาการจ านวน 130 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) โดยด าเนินการ ดังนี้

ขั้นที่ 1 แบ่งโรงเรียนประถมศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกเป็น 5 กลุ่ม ตามเขตตรวจราชการ คือ เขตตรวจราชการที่ 10 ได้แก่

อุดรธานี หนองคาย หนองบัวล าภู เลย และบึงกาฬ เขตตรวจราชการที่ 11 ได้แก่ นครพนม

มุกดาหาร และสกลนคร เขตตรวจราชการที่ 12 ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์

เขตตรวจราชการที่ 13 ได้แก่ อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ านาจเจริญ และเขตตรวจราชการ ที่ 14 ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์

ขั้นที่ 2 สุ่มส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มละ

1 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ได้แก่ เขตตรวจราชการที่ 10 ได้แก่ หนองบัวล าภู เขต 1 เขตตรวจราชการที่ 11 ได้แก่ มุกดาหาร เขตตรวจราชการที่ 12 ได้แก่ ขอนแก่น เขต 3 เขตตรวจราชการที่ 13 ได้แก่ อุบลราชธานี เขต 1 และเขตตรวจราชการที่ 14 ได้แก่ บุรีรัมย์ เขต 3

ขั้นที่ 3 สุ่มตามสัดส่วนโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling)

กลุ่ม สพป. จ านวนประชากร จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

เขตตรวจราชการที่ 10 หนองบัวล าภู เขต 1 201 24

เขตตรวจราชการที่ 11 มุกดาหาร 244 30

เขตตรวจราชการที่ 12 ขอนแก่น เขต 3 179 22

เขตตรวจราชการที่ 13 อุบลราชธานี เขต 1 239 29

เขตตรวจราชการที่ 14 บุรีรัมย์ เขต 3 210 25

รวม 1,073 130

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด

1) ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแบบประเมิน 2) ก าหนดประเด็นส าคัญที่จะประเมินสร้างเป็นข้อค าถามให้ครอบคลุมทุก ประเด็น

3) สร้างแบบประเมินโดยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert rating scale) โดยก าหนดเกณฑ์ดังนี้

5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

4) น าแบบประเมินที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณา ตรวจสอบความครอบคลุมและตรงประเด็นในเนื้อหาสาระ แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง

5) เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ดัชนี

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (CVI) พบว่า มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00

6) จัดท าแบบประเมินฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2 แบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด

1) ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถาม

Dokumen terkait