• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทักษะด้านการสื่อสารและมีส่วนร่วม 169

ตัวแปร b SE FS R2

C1. แสดงความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพด้วยทักษะการสื่อสารแบบ ต่างๆ ในบริบทที่หลากหลาย

.54 .05 .11 .29 C2. มีประสิทธิภาพในการรับฟังที่สามารถสร้างทักษะองค์ความรู้ คุณค่า

ทัศนคติและความสนใจใฝ่รู้

.62 .05 .23 .38 C3. ใช้การสื่อสารเพื่อจุดมุ่งหมายต่างๆ มีทั้งแจ้ง สั่งสอน จูงใจและ

ชักชวน

.75 .06 .37 .56 C4. ใช้สื่อ เทคโนโลยีหลากหลายในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และรู้ถึงผลกระทบที่เลือกใช้ได้

.69 .06 .29 .48 C5. สื่อสารได้หลายรูปแบบในสภาพแวดล้อมหรือบริบทที่แตกต่างกัน

อย่างมีประสิทธิภาพ

.69 .05 .21 .47 C6. สามารถท างานร่วมกับทีมที่หลากหลายและยอมรับใน

ความแตกต่างอย่างมีประสิทธิภาพ

.72 .06 .14 .52 C7. มีความยืดหยุ่นและเต็มใจ ประนีประนอมขณะร่วมงานกับผู้อื่น

เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของส่วนรวม

.73 .06 .26 .53 C8. มีความรับผิดชอบต่องานที่ท าและมองเห็นคุณค่าของการท างาน

เป็นหมู่คณะ

.64 .06 .18 .41

2 = 19.18 df = 16 P-value = .260 GFI =.96 AGFI = .92 RMR = .014 RMSEA = .039 จากตาราง 22 พบว่า โมเดลทักษะด้านการสื่อสารและมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติบ่งชี้ คือ ค่าไค-สแควร์เท่ากับ 19.18 ที่องศาอิสระเท่ากับ 16 ไค-สแควร์สัมพัทธ์เท่ากับ 1.199 ความน่าจะเป็น (P-value) เท่ากับ .260 ดัชนีวัดระดับ

ความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ .96 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ .92 ดัชนีรากของค่าเฉลี่ยก าลังสองของส่วนที่เหลือ (RMR) เท่ากับ .014 ดัชนีรากที่สองของ

ความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่า (RMSEA) เท่ากับ .039

170

ภาพประกอบ 10 โมเดลทักษะด้านการสื่อสารและมีส่วนร่วม

เมื่อพิจารณาค่าน้ าหนักองค์ประกอบ พบว่า ตัวแปรมีค่าน้ าหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .54 - .75 และมีนัยส าคัญทางสถิติ ตัวแปรที่มีน้ าหนักองค์ประกอบสูงสุด ได้แก่ ใช้การสื่อสาร เพื่อจุดมุ่งหมายต่าง ๆ มีทั้งแจ้ง สั่งสอน จูงใจและชักชวน (.75) รองลงมา คือ มีความยืดหยุ่นและ เต็มใจ ประนีประนอมขณะร่วมงานกับผู้อื่นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของส่วนรวม (.73) สามารถท างาน ร่วมกับทีมที่หลากหลายและยอมรับในความแตกต่างอย่างมีประสิทธิภาพ (.72) ใช้สื่อ เทคโนโลยี

หลากหลายในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและรู้ถึงผลกระทบที่เลือกใช้ได้ (.69) สื่อสารได้

หลายรูปแบบในสภาพแวดล้อมหรือบริบทที่แตกต่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ (.69) มีความรับผิดชอบ ต่องานที่ท าและมองเห็นคุณค่าของการท างานเป็นหมู่คณะ (.64) มีประสิทธิภาพในการรับฟังที่

สามารถสร้างทักษะองค์ความรู้ คุณค่า ทัศนคติและความสนใจใฝ่รู้ (.62) และแสดงความคิดเห็นอย่าง มีประสิทธิภาพด้วยทักษะการสื่อสารแบบต่างๆ ในบริบทที่หลากหลาย (.54) ตามล าดับ

ดังนั้น ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองของโมเดลทักษะการเรียนรู้

และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รายละเอียดดังภาพประกอบ

171

Chi-Square=264.16, df=253, P-value=0.30197, RMSEA=0.018 ภาพประกอบ 11 โมเดลทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21

LISkill

Inno

Prob

Comm

P4 P3 P2 P1

P5 P6 P7 P8 P9 0.78

0.85

P4 P3 P2 P1

P5 P6 P7 P8 P9

P4 P3 P2 P1

P5 P6 P7 P8 0.80

172 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองโมเดลทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีความ กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าดัชนีความกลมกลืนคือ 2 = 264.16, df = 253, Relative 2 = 1.04, P-value = .302, RMSEA = .02, GFI = .86, AGFI = .81, RMR = .04

ขั้นที่ 2 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ดังนี้

1. ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัด

ตาราง 23 องค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

องค์ประกอบ ตัวชี้วัด

1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 1. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของ ผู้เรียน

2. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและ ก าหนดทางเลือกในการแก้ปัญหาของผู้เรียน

3. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันจัดล าดับความส าคัญของปัญหา 2. การวางแผนการนิเทศภายใน

เชิงกลยุทธ์

1. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันก าหนดเป้าหมายที่ต้องการในการ นิเทศ

2. การระดมความคิดและรวบรวมปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของ ครูผู้สอนเพื่อน ามาวิเคราะห์และวางแผนการนิเทศ

3. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันก าหนดแนวทางและวิธีการ 4. การก าหนดวิธีการ ควบคุม ก ากับติดตามและประเมินผลการนิเทศ ภายในไว้อย่างชัดเจน

5. การจัดหาสื่อและเครื่องมือการนิเทศอย่างเหมาะสม

173 ตาราง 23 (ต่อ)

องค์ประกอบ ตัวชี้วัด

2. การวางแผนการนิเทศ ภายในเชิงกลยุทธ์

6. การปรับปรุงวิธีการนิเทศภายในให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการจ าเป็น

7. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมกันจัดท าแผนการนิเทศภายใน 3. การปฏิบัติการเยี่ยมชั้น

เรียน

1. ผู้นิเทศด าเนินการนิเทศตามล าดับขั้นตอนและกิจกรรมที่ก าหนด ในแผนการนิเทศ

2. ผู้นิเทศด าเนินการนิเทศตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่ก าหนด 3. หลังการนิเทศ ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศวิพากษ์ผลการ ปฏิบัติการนิเทศและวิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนการสอน อย่างกัลยาณมิตร

4. ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศทบทวนและสรุปประเด็นจากผลการ นิเทศเพื่อพัฒนาผู้เรียน

4. การประเมินและสรุปผล 1. ผู้นิเทศตรวจสอบความส าเร็จของการนิเทศภายใน เกี่ยวกับ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์

ที่ก าหนดไว้

2. ผู้รับการนิเทศได้ประเมินนักเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. ผู้นิเทศประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ

4. ประชุมสรุปผลและสะท้อนการนิเทศโดยถอดบทเรียนจากผล การนิเทศ

5. ผู้นิเทศสรุปผลและจัดท ารายงานผลการนิเทศภายในเพื่อพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง

จากตาราง 23 พบว่า องค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการ เชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 19 ตัวชี้วัด ได้แก่

1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 3 ตัวชี้วัด 2) การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ 7 ตัวชี้วัด 3) การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน 4 ตัวชี้วัด และ 4) การประเมินและสรุปผล 5 ตัวชี้วัด

174 2. ผลการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด

ตาราง 24 ผลการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัดการนิเทศภายในตามแนวคิด

Dokumen terkait