• Tidak ada hasil yang ditemukan

กลุ่ม สพป. จ านวนประชากร จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

เขตตรวจราชการที่ 10 หนองบัวล าภู เขต 1 201 46

เขตตรวจราชการที่ 11 มุกดาหาร 244 54

เขตตรวจราชการที่ 12 ขอนแก่น เขต 3 179 40

เขตตรวจราชการที่ 13 อุบลราชธานี เขต 1 239 54

เขตตรวจราชการที่ 14 บุรีรัมย์ เขต 3 210 46

รวม 1,073 240

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด 1) ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแบบประเมิน 2) ก าหนดประเด็นส าคัญที่จะประเมินสร้างเป็นข้อค าถามให้ครอบคลุมทุก ประเด็น

3) สร้างแบบประเมินโดยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert rating scale) โดยก าหนดเกณฑ์ดังนี้

5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

4) น าแบบประเมินที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณา ตรวจสอบความครอบคลุมและตรงประเด็นในเนื้อหาสาระ แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง

5) เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ดัชนี

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (CVI) พบว่า มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00

6) จัดท าแบบประเมินฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2 แบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด

1) ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถาม

139 2) น าองค์ประกอบและตัวชี้วัดสร้างแบบสอบถามโดยมีลักษณะเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert rating scale) โดยก าหนดเกณฑ์

ดังนี้

5 หมายถึง มีความส าคัญมากที่สุด 4 หมายถึง มีความส าคัญมาก 3 หมายถึง มีความส าคัญปานกลาง 2 หมายถึง มีความส าคัญน้อย 1 หมายถึง มีความส าคัญน้อยที่สุด

3) น าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณา ตรวจสอบความครอบคลุมและตรงประเด็นในเนื้อหาสาระ แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง

4) เสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ดัชนี

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (CVI) พบว่า มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00

5) น าแบบสอบถามไปทดลอง (Try out) กับกลุ่มที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน แล้วน าผลมาวิเคราะห์ค่าอ านาจจ าแนก โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

ของเพียร์สัน พบว่า มีอ านาจจ าแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .63 - .86 และความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธิ์

แอลฟาของครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) พบว่า มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .91 6) จัดท าแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.3 ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์

1) ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านการวิจัย/วัดผลหรือการบริหาร การศึกษา

2) มีต าแหน่งทางวิชาการตั้งแต่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป ผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย

1. รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป คุณวุฒิ กศ.ด. สาขา วิจัยและประเมินผล

การศึกษา รองผู้อ านวยการส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษขั้นพื้นฐาน 3. รองศาสตราจารย์ ดร.รังสรรค์ โฉมยา คุณวุฒิ วท.ด.

สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี คุณวุฒิ กศ.ด.

สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

140 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชชัย จิตรนันท์ คุณวุฒิ ค.ด.

สาขาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. การเก็บรวบรวบข้อมูล

4.1 ผู้วิจัยน าหนังสือขอความอนุเคราะห์พร้อมด้วยแบบประเมินติดต่อกับ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จ านวน 9 ฉบับ ได้รับคืน จ านวน 9 ฉบับ (ร้อยละ 100)

4.2 ผู้วิจัยน าหนังสือขอความอนุเคราะห์พร้อมด้วยแบบสอบถามติดต่อกับ กลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จ านวน 290 ฉบับ ได้รับคืน จ านวน 274 ฉบับ (ร้อยละ 94.48)

5. การจัดกระท าและวิเคราะห์ข้อมูล

5.1 แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด 1) ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบประเมิน

2) วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วแปลความหมายตาม เกณฑ์ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง เหมาะสมมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง เหมาะสมน้อย 1.00 - 1.50 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด 5.2 แบบสอบถามเพื่อการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด 1) ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบสอบถาม

2) วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วแปลความหมาย ตามเกณฑ์ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง มีความส าคัญมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความส าคัญมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความส าคัญปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความส าคัญน้อย 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความส าคัญน้อยที่สุด 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

6.1 ค่าเฉลี่ย (Mean)

6.2 วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

141 6.3 ดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity index)

6.4 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson product moment correlation)

6.5 สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach alpha coefficient) ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจ าเป็นของการนิเทศภายใน ตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. ขั้นตอนด าเนินการ

1.1 ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมินความต้องการจ าเป็นโดยใช้

แนวคิดหลักของ Altschuld and Witkin (1995) ; Altschuld and Witkin (2000) ; Iowa State University (2001) ; สุวิมล ว่องวาณิช (2558) และพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร (2563)

1.2 น าองค์ประกอบและตัวชี้วัดจากผลการวิจัยในระยะที่ 1 ตอนที่ 2 มาสร้าง แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

1.3 ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.4 น าข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

1.5 วิเคราะห์ความต้องการจ าเป็นและจัดล าดับความต้องการจ าเป็น 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.1 ประชากร ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2563 จ านวน 12,148 โรงเรียน

2.2 กลุ่มตัวอย่าง เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2563 จ านวน 374 โรงเรียน ก าหนดขนาดของ กลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie และ Morgan (1970) ได้กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 748 คน จ าแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 374 คน และครู จ านวน 374 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) โดยด าเนินการดังนี้

ขั้นที่ 1 แบ่งโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกเป็น

ตามเขตตรวจราชการ คือ เขตตรวจราชการที่ 10 ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย หนองบัวล าภู เลย และ บึงกาฬ เขตตรวจราชการที่ 11 ได้แก่ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร เขตตรวจราชการที่ 12 ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ เขตตรวจราชการที่ 13 ได้แก่ อุบลราชธานี

142 ยโสธร ศรีสะเกษ และอ านาจเจริญ และเขตตรวจราชการที่ 14 ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์

และสุรินทร์

ขั้นที่ 2 สุ่มส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มละ 1 ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษา โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ได้แก่ เขตตรวจราชการ ที่ 10 ได้แก่ อุดรธานี เขต 2 เขตตรวจราชการที่ 11 ได้แก่ สกลนคร เขต 2 เขตตรวจราชการที่ 12 ได้แก่ มหาสารคาม เขต 3 เขตตรวจราชการที่ 13 ได้แก่ ศรีสะเกษ เขต 4 และเขตตรวจราชการที่ 14 ได้แก่ ชัยภูมิ เขต 3

ขั้นที่ 3 สุ่มตามสัดส่วนโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling)

Dokumen terkait