• Tidak ada hasil yang ditemukan

ล าดับขั้นการสอน

2. กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ก าลังศึกษา ในโรงเรียนขยายโอกาสเครือข่ายสถานศึกษาที่ 2 จ านวน 50 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยของการสุ่ม ได้แก่

1. กลุ่มทดลอง เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโพธิ์ศรี จ านวน 1 ชั้นเรียน จ านวนทั้งสิ้น 25 คน

80 2. กลุ่มควบคุม เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนบ้านระเว

จ านวน 1 ชั้นเรียน จ านวนทั้งสิ้น 25 คน แบบแผนการศึกษา

การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบแผนการศึกษาสองกลุ่มวัดครั้งเดียว (The One-Group Pretest- Posttest Design) ซึ่งแบบแผนการทดลองมีดังนี้

O1 X O2

โดย X = การทดลองใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

O1 = การวัดผลก่อนการทดลองใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

O2 = การวัดผลหลังการทดลองใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย

1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้

เป็นกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1

2. แบบวัดความสามารถทักษะการคิดเชิงค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 12 ข้อ

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 30 ข้อ

4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

81 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส าหรับการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยเครื่องมือ 4 ชนิด ได้แก่

1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้

เป็นกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1

2. แบบวัดความสามารถทักษะการคิดเชิงค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 12 ข้อ

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 30 ข้อ

4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

โดยมีรายละเอียดในการสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือแต่ละเครื่องมือ ดังนี้

1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้

เป็นกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม เป็นแนวคิดส าคัญในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งผู้วิจัยสร้างและพัฒนาขึ้นตามล าดับขั้นตอน ดังนี้

1.1 ศึกษาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 จากหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง ทางศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรียนบ้านโพธิ์ศรี จังหวัดอุบลราชธานี

1.2 ศึกษาเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการค านวณ จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1 และคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

1.3 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ดังรายละเอียดในบทที่ 2

82 ทั้งนี้เพื่อท าความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน

โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม เพื่อแสวงหาแนวทางในการสร้างกิจกรรม การเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการค านวณ และเพื่อสร้างแนวคิดในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

ของประชากร จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการค านวณ โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

1.4 ศึกษาวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม จากต าราและ เอกสารอื่น ๆ ในบทที่ 2 ได้ทั้ง 6 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 เสนอปัญหา ขั้นที่ 2 พิจารณาปัญหา ขั้นที่ 3 วางแผนงาน ขั้นที่ 4 ลงมือปฏิบัติงาน

ขั้นที่ 5 รายงานผลงานและกระบวนการท างาน ขั้นที่ 6 ทบทวนปัญหา

1.5 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียน แบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม อย่างละเอียดและสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยแบ่งการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เป็นรายคาบจ านวน 12 แผน รวม 20 ชั่วโมง ดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แนวคิดเชิงนามธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การคัดเลือกคุณลักษณะที่จ าเป็นต่อ การแก้ปัญหา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การถ่ายทอดรายละเอียดของแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ภาษาโปรแกรม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง รูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง การจัดการ/การประมวลผล ข้อมูลและ สารสนเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ซอฟต์แวร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ

83 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ข้อก าหนด ข้อตกลงในการใช้แหล่งข้อมูล ตาราง 5 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้และเวลาเรียน รายวิชา

วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการ

จัดการเรียนรู้ที่ เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา

(ชั่วโมง) 1 แนวคิดเชิงนามธรรม ด้านความรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการน าแนวคิด เชิงนามธรรมมาใช้วิเคราะห์โจทย์ปัญหาและ ถ่ายทอดแนวคิดได้

2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รายละเอียดที่

จ าเป็นของปัญหา ออกจากรายละเอียดที่

ไม่จ าเป็น และอธิบายรายละเอียดที่

ไม่ครบถ้วนได้

3. นักเรียนสามารถออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้แนวคิดเชิงนามธรรมได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ

1. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ก าหนดได้จน ส าเร็จ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Dokumen terkait