• Tidak ada hasil yang ditemukan

นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้

ล าดับขั้นการสอน

1. นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้

83 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ข้อก าหนด ข้อตกลงในการใช้แหล่งข้อมูล ตาราง 5 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้และเวลาเรียน รายวิชา

วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการ

จัดการเรียนรู้ที่ เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา

(ชั่วโมง) 1 แนวคิดเชิงนามธรรม ด้านความรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการน าแนวคิด เชิงนามธรรมมาใช้วิเคราะห์โจทย์ปัญหาและ ถ่ายทอดแนวคิดได้

2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รายละเอียดที่

จ าเป็นของปัญหา ออกจากรายละเอียดที่

ไม่จ าเป็น และอธิบายรายละเอียดที่

ไม่ครบถ้วนได้

3. นักเรียนสามารถออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้แนวคิดเชิงนามธรรมได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ

1. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ก าหนดได้จน ส าเร็จ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

84 ตาราง 5 (ต่อ)

แผนการจัดการ

เรียนรู้ที่ เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา

(ชั่วโมง) 4 หลักการเขียนโปรแกรม ด้านความรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียน โปรแกรมได้

2. นักเรียนบอกความแตกต่างของภาษา โปรแกรมต่าง ๆ ได้

3. นักเรียนสามารถเขียนและยกตัวอย่างในการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ

1. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ก าหนดได้จนส าเร็จ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้

2. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน 3. นักเรียนมีความสามัคคี ช่วยเหลือในการ ท างานกลุ่มร่วมกัน

2

5 ภาษาโปรแกรม 2

6 รูปแบบการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์

2

7 ข้อมูลและสารสนเทศ ด้านความรู้

1. นักเรียนรู้และเข้าใจความหมายของข้อมูลและ สารสนเทศ

2. นักเรียนจ าแนกประเภทของข้อมูลและบอก วิธีการแสดงสารสนเทศได้

3. นักเรียนบอกขั้นตอนการจัดเก็บและการ บ ารุงรักษาข้อมูลสารสนเทศให้ถูกต้องและเป็น ปัจจุบัน

4. นักเรียนเห็นประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล และสารสนเทศ

ด้านทักษะ/กระบวนการ

1. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ก าหนดได้จนส าเร็จ

2 8 การจัดการ/การ

ประมวลผล ข้อมูลและ สารสนเทศ

2

9 ซอฟต์แวร์ 2

85 ตาราง 5 (ต่อ)

แผนการจัดการ

เรียนรู้ที่ เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา

(ชั่วโมง) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้

2. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน 3. นักเรียนมีความสามัคคี ช่วยเหลือในการท างาน กลุ่มร่วมกัน

10 ความปลอดภัยของระบบ สารสนเทศ

ด้านความรู้

1. นักเรียนบอกวิธีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างเหมาะสมและปลอดภัย

2. นักเรียนอธิบายมารยาทที่ดีในการติดต่อสื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

3. นักเรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม และปลอดภัย

ด้านทักษะ/กระบวนการ

1. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ก าหนดได้จนส าเร็จ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้

2. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน 3. นักเรียนมีความสามัคคี ช่วยเหลือในการท างาน กลุ่มร่วมกัน

1 11 จริยธรรมและ

จรรยาบรรณในการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ

1

12 ข้อก าหนด ข้อตกลงในการ ใช้แหล่งข้อมูล

1

1.6 น าแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการค านวณ โดยใช้รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของ ภาษา เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องของจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อน ามาปรับปรุงแก้ไข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ มีดังนี้

1.6.1 นางภัสรา ฐานวิเศษ ต าแหน่ง ครู ค.ศ. 4 วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ โรงเรียนอนุบาลนครพนม ต าบลในเมือง อ าเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน การสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

86 1.6.2 นายบุญพา อร่ามโชติ ครู ค.ศ. 3 วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียน อนุบาลพิบูลมังสาหารวิภาคย์วิทยากร อ าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี เป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านหลักสูตรและการสอน

1.6.3 นางสาวศศิประภา สอนถา ต าแหน่ง ครู ค.ศ. 3 วิทยฐานะช านาญการ พิเศษ โรงเรียนอนุบาลพิบูลมังสาหารวิภาคย์วิทยากร อ าเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและการสอนวิทยาการค านวณ

แบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของแผนการจัดการ เรียนรู้ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

ระดับ 5 หมายถึง มากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง มาก ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง น้อย ระดับ 1 หมายถึง น้อยที่สุด

มีเกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง เหมาะสมมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง เหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด

1.7 ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญในด้านรายละเอียดการจัด กิจกรรมผู้สอนควรแบ่งกลุ่มให้ชัดเจน ปรับการใช้ภาษาให้เหมาะสม ตลอดจนตรวจสอบการเข้าไปใช้

สื่อและแหล่งการเรียนรู้ จากนั้นน าคะแนนที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.75 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด สามารถน าไปทดลองใช้ได้

1.8 น าแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียน แบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โดยในการทดลองใช้จะใช้ควบคู่กับกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ตามขั้นตอนดังนี้

87 1.8.1 การทดลองภาคสนาม เป็นการน ากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่มที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขจากกลุ่มเล็ก แล้วมาทดลองกับเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ใช้ในสถานการณ์จริงกับนักเรียน กลุ่มภาคสนาม จ านวน 26 คน แล้วน าผลการทดลองมาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก าหนด ไว้ คือ 80/80 และค่าดัชนีประสิทธิผลตั้งแต่ 50 ขึ้นไป โดยก าหนดค่าความคลาดเคลื่อน 2.5

Dokumen terkait