• Tidak ada hasil yang ditemukan

การหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบวัดความพึงพอใจในการเรียน

ล าดับขั้นการสอน

รวมคะแนนจาก 12 ข้อค าถาม ได้เป็น 36 คะแนน

2. การด าเนินการทดลอง

1.2.7 การหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบวัดความพึงพอใจในการเรียน

โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของแต่ละข้อกับคะแนนรวม IOC (Index of Item Objective Congruence) ของสมนึก ภัททิยธนี (2546) พิจารณาคัดเลือก ข้อสอบก าหนดคะแนนระหว่าง 0.50 ถึง 1.00 ผ่านเกณฑ์

1.2.8 การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความพึงพอใจทั้งฉบับ โดยใช้วิธีของ Cronbach (สมนึก ภัททิยธนี, 2546) เรียกว่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (𝛼-Coefficient) แล้ววิเคราะห์

แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม โดยหาค่าเฉลี่ย (X̅) เทียบกับการประเมินของ

บุญชม ศรีสะอาด (2545) ดังนี้

ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ 4.51 - 5.00 หมายถึง มากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง มาก 2.51 - 3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด

96 2. การทดสอบสมมติฐาน

2.1 เปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงค านวณ ก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม โดยใช้สถิติ t-test (Pairs Samples t-test) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538)

2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียน แบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม โดยใช้สถิติ t-test (Pairs Samples t-test) (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2538)

2.3 วิเคราะห์แบบวัดความพึงพอใจการเรียนนักเรียนหลังเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย (X̅) เทียบกับการประเมินของบุญชม ศรีสะอาด (2545) ดังนี้

ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ 4.51 - 5.00 หมายถึง มากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง มาก 2.51 - 3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1. สถิติที่ใช้หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประกอบด้วย 1.1 การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบแต่ละข้อโดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objective Congruence) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

IOC = ∑ R

n

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับตัวชี้วัด/จุดประสงค์

∑ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด n แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

97 1.2 การหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนข้อสอบรายข้อ ใช้วิธีวิเคราะห์แบบอิงเกณฑ์ของเบรนแนน (Brennand) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

B = U

n1 - U

n2

เมื่อ B แทน ค่าอ านาจจ าแนก

U แทน จ านวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก L แทน จ านวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่ตอบถูก n1 แทน จ านวนผู้รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์

n2 แทน จ านวนผู้ไม่รอบรู้หรือสอบผ่านเกณฑ์

1.3 การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยวิธีการของ โลเวท (Lovett) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

rcc = 1 - k ∑ x1−∑ xi2

(k+1) ∑(xi−c)2

แทน rcc แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จ านวนข้อสอบ

xi แทน คะแนนของแต่ละคน

C แทน คะแนนเกณฑ์หรือจุดตัดของแบบทดสอบ 2. สถิติพื้นฐาน

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ จากผลการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation : GI) เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

2.1 ค่าร้อยละ (Percentage) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) p = f

n X 100

98 เมื่อ p แทน ร้อยละ

f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ n แทน จ านวนความถี่ทั้งหมด

2.2 ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) IOC = ∑ R

n

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับตัวชี้วัด/จุดประสงค์

∑ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด n แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

2.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

S.D. = √n ∑ x2−(∑ x)2

n(n−1)

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X̅ แทน ค่าเฉลี่ย

n แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม ∑ x แทน ผลรวมของคะแนน

2.4 การหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบประเมินความพึงพอใจเป็นรายข้อ โดยใช้วิธี

Item – total Correlation ใช้สูตรสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) rxy = N ∑ XY−(∑ X)(∑ Y)

√[N ∑ X2−(∑ X)2][N ∑ Y2−(∑ Y)2]

เมื่อ rxy แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม N แทน จ านวนผู้ตอบแบบสอบถาม

99 ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนรายข้อ

∑ Y แทน ผลรวมของคะแนนรวมทุกข้อ

∑ XY แทน ผลรวมของผลคูณระหว่างคะแนนรายข้อกับ คะแนนรวมทุกข้อของทุกคน

∑ X2 แทน ผลรวมของคะแนนรายข้อแต่ละตัวยกก าลังสอบ ∑ Y2 แทน ผลรวมของคะแนนรวมทุกข้อแต่ละตัวยกก าลังสอบ 2.5 การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินความพึงพอใจทั้งฉบับ โดยใช้ค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

α = k

k−1[1 −∑ si2

st2 ] เมื่อ α แทน ค่าสัมประสิทธิ์ขอความเชื่อมั่น k แทน จ านวนข้อสอบ

si2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนข้อหนึ่ง ๆ st2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งหมด

3. การหาประสิทธิภาพของผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation : GI) เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิง ค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ดังนี้

Dokumen terkait