• Tidak ada hasil yang ditemukan

วางแผนการสร้างแบบทดสอบ มีการด าเนินการ ดังนี้

ล าดับขั้นการสอน

รวมคะแนนจาก 12 ข้อค าถาม ได้เป็น 36 คะแนน

3.1 วางแผนการสร้างแบบทดสอบ มีการด าเนินการ ดังนี้

3.1.1 ก าหนดจุดมุ่งหมายของการทดสอบ

3.1.2 ก าหนดขอบเขตของเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้

3.1.3 สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร 3.1.4 ก าหนดชนิดและรูปแบบของข้อสอบ

3.1.5 ก าหนดส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น จ านวนข้อสอบ เวลาที่ใช้ในการสอบ ระยะเวลาในการสอบ เป็นต้น

3.1.6 การสร้างแบบทดสอบ ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ โดยสร้างข้อสอบให้

ครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ ตามที่ก าหนดไว้ในขั้นการวางแผนการสร้างแบบทดสอบ 3.1.7 การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบการตรวจสอบคุณภาพของ แบบทดสอบ ก็เพื่อปรับปรุงแบบทดสอบให้มีคุณภาพ มีคุณลักษณะของแบบทดสอบที่ดี ซึ่งผู้วิจัยได้

ด าเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

3.1.7.1 ให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย ครูผู้สอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3.1.7.2 ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา โดยน าแบบทดสอบไปให้

ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาตรวจสอบ พิจารณาข้อสอบแต่ละข้อกับเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ว่า สอดคล้องกันหรือไม่แล้วบันทึกผลการพิจารณาลงความเห็นของผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาวิชาแต่ละคนลงใน แบบประเมินความสอดคล้อง พร้อมหาค่าคะแนนผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเป็นรายข้อ แล้วน ามาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) ระหว่างข้อค าถามของแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ แล้วเลือกข้อสอบที่มีค่าดัชนี

ความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป ผลปรากฏว่า ข้อสอบที่สร้างขึ้น มีค่าดัชนีความสอดคล้องกัน ระหว่าง 0.80-1.00 การก าหนดเกณฑ์การให้คะแนนความสอดคล้อง มีดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

91 +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

-1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

3.1.8 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญจากนั้นน าแบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จ านวน 40 ข้อ ไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทรายมูล จ านวน 10 คน โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม จ านวน 20 คน สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3 จ านวน 30 คนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหา คุณภาพของแบบทดสอบ

3.1.9 น าผลการตรวจคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และหาค่าอ านาจจ าแนก (B) โดยใช้วิธีของแบรนแนน (Brennan Index หรือ B - Index) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) เกณฑ์ที่เลือกคือความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.20 – 0.80 และ ค่าอ านาจจ าแนก (B) ที่ระดับ .20 ขึ้นไป ผลพบว่าได้แบบทดสอบที่ใช้ได้ทั้งหมดจ านวน 30 ข้อ จากที่สร้างขึ้นทั้งหมด 40 ข้อ ที่มีค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.37-0.77 และค่าอ านาจจ าแนก (B) อยู่ระหว่าง 0.22 – 0.67

3.1.10 น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คัดเลือกไว้

จ านวน 30 ข้อ ไปหาค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีของโลเวท (Lovett) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.76

3.1.11 จัดพิมพ์และน าแบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จ านวน 30 ข้อ ไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างต่อไป

4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียน ผู้วิจัยมีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้

4.1 ศึกษารูปแบบการสร้างแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่าจาก เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4.2 ศึกษาการก าหนดรายการประเมินหรือข้อค าถามความพึงพอใจต่อการเรียน กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดข้อค าถาม

4.3 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ ที่มีต่อการเรียนด้วยการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม จ านวน 20 ข้อ ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating-Scale) โดยก าหนดระดับความพึงพอใจ เป็นมากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) และน้อยที่สุด (1) ปรับใช้เกณฑ์การแปลคะแนน ของ บุญชม ศรีสะอาด (2553) ดังนี้

92 4.51 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจระดับ มากที่สุด

3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับ มาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับ ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับ น้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับ น้อยที่สุด

4.4 น าแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้นเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน (ชุดเดิม) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและภาษา ความเที่ยงตรง และความสอดคล้อง

4.5 ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ โดยปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาและ ภาษาที่ใช้แต่ละข้อให้สอดคล้องกันในแต่ละประเด็น เพิ่มข้อค าถามในบางตอนให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น จากนั้นน าไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทรายมูล จ านวน 10 คน โรงเรียนบ้านท่าเสียวคันลึม จ านวน 20 คน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 3 จ านวน 30 คนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาคุณภาพของแบบสอบถาม

4.6 วิเคราะห์เพื่อหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบประเมินความพึงพอใจเป็นรายข้อ โดยใช้วิธี Item – total Correlation ใช้สูตรสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ผลปรากฏว่า แบบสอบถามนี้มีค่าอ านาจจ าแนกอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00

4.7 น าแบบสอบถามความพึงพอใจมาวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมิน ความพึงพอใจทั้งฉบับ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค

(Cronbach) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ผลปรากฏว่าได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.93

4.8 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจฉบับจริงแล้วน าไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านโพธิ์ศรี

จ านวน 25 คน โรงเรียนชุมชนบ้านระเว จ านวน 25 คน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3 จ านวน 50 คน ต่อไป

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการทดลองสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิง ค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง โดยมีล าดับขั้นตอน ดังนี้

93 1. การเตรียมนักเรียนและเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนด าเนินการทดลอง

1.1 เตรียมความพร้อมนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยด าเนินการแนะน าหน่วยการเรียนรู้

ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ชี้แจงจุดประสงค์ และวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

1.2 ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนการจัดการเรียนรู้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยทดสอบด้วยแบบวัดความสามารถทักษะการคิดเชิงค านวณฉบับก่อนเรียนกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ใช้เวลาในการท าแบบวัด 60 นาที

Dokumen terkait