• Tidak ada hasil yang ditemukan

ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E 1 ) (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2556)

ล าดับขั้นการสอน

รวมคะแนนจาก 12 ข้อค าถาม ได้เป็น 36 คะแนน

2. การด าเนินการทดลอง

3.1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E 1 ) (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2556)

99 ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนรายข้อ

∑ Y แทน ผลรวมของคะแนนรวมทุกข้อ

∑ XY แทน ผลรวมของผลคูณระหว่างคะแนนรายข้อกับ คะแนนรวมทุกข้อของทุกคน

∑ X2 แทน ผลรวมของคะแนนรายข้อแต่ละตัวยกก าลังสอบ ∑ Y2 แทน ผลรวมของคะแนนรวมทุกข้อแต่ละตัวยกก าลังสอบ 2.5 การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินความพึงพอใจทั้งฉบับ โดยใช้ค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

α = k

k−1[1 −∑ si2

st2 ] เมื่อ α แทน ค่าสัมประสิทธิ์ขอความเชื่อมั่น k แทน จ านวนข้อสอบ

si2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนข้อหนึ่ง ๆ st2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งหมด

3. การหาประสิทธิภาพของผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation : GI) เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิง ค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ดังนี้

100 3.2 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2556)

E1 =

∑ F N

B X 100 เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์

∑ F คือ คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน N คือ จ านวนนักเรียน

4. สถิติที่ใช้ในการหาค่าทักษะการคิดเชิงค านวณ ท าการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

4.1 ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) IOC = ∑ R

n

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับตัวชี้วัด/จุดประสงค์

∑ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด n แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

4.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

S.D. = √n ∑ x2−(∑ x)2

n(n−1)

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X̅ แทน ค่าเฉลี่ย

n แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม ∑ x แทน ผลรวมของคะแนน

101 5. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน

5.1 สถิติเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง ก่อนเรียนและ หลังเรียนจากการใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ สืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation : GI) โดยใช้ค่าสถิติ t-test จากสูตร

t-dependent (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ใช้สูตรดังนี้

t = 1−x̅2

√Sp2(1

n1+1

n2)

df = n1 + n2 -2

เมื่อ 1, 2 แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1, 2 Sp2 แทน ความแปรปรวนร่วม (Pooled Variance)

Sp2 = (n1−1)S12+(n2−1)S22

n1 + n2−2

n1, n2 แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1, 2

df แทน ชั้นแห่งความเป็นอิสระ (Degree of Freedom)

5.2 สถิติเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม จากการใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหา ความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation : GI) โดยใช้ค่าสถิติ t-test จากสูตร t-dependent (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ใช้สูตรดังนี้

t = 1−x̅2

√Sp2(1

n1+1

n2)

df = n1 + n2 -2

เมื่อ 1, 2 แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1, 2 Sp2 แทน ความแปรปรวนร่วม (Pooled Variance)

102

Sp2 = (n1−1)S12+(n2−1)S22

n1 + n2−2

n1, n2 แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1, 2

df แทน ชั้นแห่งความเป็นอิสระ (Degree of Freedom)

103 บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้

เป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงค านวณ ในรายวิชา วิทยาการค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งเป็น 5 ตอน

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ สืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ระหว่างก่อนและหลังเรียน

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ สืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม กับการเรียนการสอนแบบปกติ

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงค านวณหลังเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ สืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม กับการเรียนการสอนแบบปกติ

ตอนที่ 5 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยได้ก าหนดความหมายของสัญลักษณ์ ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจใน การแปลความ และการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้

E1 แทนค่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทนค่า ประสิทธิภาพของผลลัพธ์

n แทนค่า จ านวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง

X̅ แทนค่า ค่าเฉลี่ย (Mean)

S.D. แทนค่า ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

104 t แทนค่า ค่าคะแนนการทดสอบ t (-test)

df แทนค่า ชั้นของความเป็นอิสระ (Degree of Freedom) * แทนค่า นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

ตาราง 9 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

กลุ่มตัวอย่าง

คะแนนแสดงประสิทธิภาพ กระบวนการเรียน (E1)

(25)

คะแนนการท าแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (E2)

(25)

รวม ร้อยละ X̅ S.D. รวม ร้อยละ X̅ S.D.

จ านวน (25 คน) 604 80.53 24.16 3.40 654 87.20 26.16 2.60 จากตาราง 9 คะแนนเฉลี่ยประสิทธิภาพกระบวนการเรียนเท่ากับ 24.16 คิดเป็นร้อยละ 80.53 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 87.20 ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียน แบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้คะแนนจากแบบทดสอบ ย่อยระหว่างเรียนรวม 604 คะแนน จากคะแนนเต็มรวม 750 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.53 คะแนน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ได้คะแนนรวม 654 คะแนน จากคะแนนเต็ม รวม 750 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.20 ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้

เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 80.53/87.20 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้

105 ขั้นที่ 1 ทดสอบการแจกแจงปกติเพื่อเลือกใช้สถิติทดสอบ t-test หรือ NPer test (Nonparametric Test)

ตาราง 10 การแจกแจงความเป็นโค้งปกติด้วยสถิติของ Kolmogorov-Smirnov Kolmogorov-Smirnova Shapiro-Wilk Statistic df Sig. Statistic df Sig.

ก่อนเรียน .103 25 .200 .972 25 .704

หลังเรียน .124 25 .200 .955 25 .331

a. Lilliefors Significance Correction

จากตาราง 10 พบว่า การแจกแจงความเป็นโค้งปกติด้วยสถิติของ Kolmogorov-Smirnov พบว่า ค่า Sig. ของคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ .200 ซึ่งสูงกว่าระดับนัยส าคัญที่ก าหนดไว้ คือ .05 และ ค่า Sig. ของคะแนนหลังเรียนเท่ากับ .200 ซึ่งสูงกว่าระดับนัยส าคัญที่ก าหนดไว้ คือ .05 แสดงว่า การกระจายข้อมูลเป็นแบบโค้งปกติ ผู้วิจัยจึงสามารถใช้สถิติทดสอบสมมุติฐานเป็น t-test

ขั้นที่ 2 เมื่อทราบค่าการแจกแจงของข้อมูลแล้วจึงจะสามารถด าเนินการวิเคราะห์

เปรียบเทียบโดยใช่สถิติ t-test แบบ Dependent Sample จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลเป็นไปตาม ข้อตกลงเบื้องต้น คือ มีการแจกแจงปกติ แต่ถ้าข้อมูลมีการแจกแจงไม่ปกติ ผู้ศึกษาจะสามารถ เลือกใช้ The Wilcoxon Matched Pairs Signed – Rank Test แทนได้

ตาราง 11 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน

โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน X̅ S.D. df t P

ก่อนเรียน 24.16 3.62 25

5.69* .000*

หลังเรียน 26.16 2.60 25

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

106 จากตาราง 11 แสดงว่า ผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม การจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ สืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ระหว่างก่อนและหลังเรียน

ตาราง 12 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงค านวณ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหา ความรู้เป็นกลุ่ม ระหว่างก่อนและหลังเรียน

ตัวแปรคะแนนทักษะการคิดเชิงค านวณ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 X̅ S.D. df t P

ก่อนเรียน 23.60 1.08 25

21.62* <0.001

หลังเรียน 34.36 2.03 25

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 12 แสดงว่า ผลการศึกษาเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงค านวณ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ สืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม ระหว่างก่อนและหลังเรียน พบว่า การจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้

แบบผสมผสาน โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบสืบสอบหาความรู้เป็นกลุ่ม มีคะแนนทักษะการคิดเชิง ค านวณค านวณเฉลี่ยระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

ที่ระดับ .05

Dokumen terkait