• Tidak ada hasil yang ditemukan

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ

3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

78 โดยก าหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดับ ซึ่งมีความหมาย ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

5 หมายถึง มีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด

4 หมายถึง มีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา อยู่ในระดับมาก

3 หมายถึง มีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง

2 หมายถึง มีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา อยู่ในระดับน้อย

1 หมายถึงมีสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา อยู่ในระดับน้อยที่สุด

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ เกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจ าเป็นของแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 มีลักษณะแบบสอบถามเป็นค าถามปลายเปิด (Open–ended Questions)

79 4. วิเคราะห์นิยามศัพท์เฉพาะ แล้วก าหนดโครงสร้างของการมีส่วนร่วมของ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา เป็นรายด้านให้สอดคล้องกับ องค์ประกอบและตัวชี้วัด

5. ก าหนดรูปแบบข้อค าถาม ประกอบด้วย ข้อค าถามในส่วนสภาพปัจจุบันและ สภาพที่พึงประสงค์ของการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจ ในสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และข้อค าถามใน ส่วนความเห็นและข้อเสนอแนะด้านการจัดการเรียนรู้มีลักษณะเป็นแบบปลายเปิด (Open–ended Questions)

6. สร้างแบบสอบถามฉบับร่าง การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานในการปฏิบัติภารกิจในสถานศึกษา 4 องค์ประกอบ และ 20 ตัวชี้วัด จ านวนทั้งสิ้น 70 ข้อ แล้วตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม

7. น าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องและความเหมาะสมของข้อค าถาม แล้วแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งอาจารย์ที่ปรึกษาได้เสนอแนะให้ปรับภาษาของข้อค าถามให้กระชับ สื่อความได้ตรงประเด็น และ ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น

8. น าเครื่องมือที่ปรับปรุงตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ไปเสนอ ผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม และรับข้อ เสนอแนะต่าง ๆ

ในการตรวจสอบแบบสอบถามใช้วิธีการตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา (Content Validity) โดยวิธีการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence : IOC) ระหว่างข้อค าถามกับเนื้อหา มีเกณฑ์ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด และคณะ, 2561)

ให้คะแนน +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นตรงกับนิยามศัพท์เฉพาะ ให้คะแนน 0 ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นตรงกับนิยามศัพท์เฉพาะ ให้คะแนน -1 ถ้าแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นไม่ตรงกับนิยามศัพท์เฉพาะ ในการตรวจสอบความถูกต้องครั้งนี้มีผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน ซึ่งมีเกณฑ์

คุณสมบัติของผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้

1. อาจารย์สอนในระดับอุดมศึกษา วุฒิการศึกษาระดับมหาบัณฑิต หรือดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา จ านวน 1 คน

2. ผู้บริหารสถานศึกษา วุฒิการศึกษาระดับมหาบัณฑิตหรือดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา และมีประสบการณ์ในการบริหารสถานศึกษาอย่างน้อย 5 ปี จ านวน 3 คน

80 3. ข้าราชการครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ วุฒิการศึกษาระดับมหาบัณฑิต หรือดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษาหรือวิจัยและประเมินผลการศึกษา จ านวน 1 คน

ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ได้แก่

1. ผศ.ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี วุฒิการศึกษา กศ.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร ต าแหน่งอาจารย์ประจ า ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม

2. ดร.ช านาญ ทุมทุมา วุฒิการศึกษา กศ.ด (การบริหารและพัฒนา การศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต าแหน่ง ผู้อ านวยการ วิทยฐานะช านาญการพิเศษโรงเรียน บ้านท่าตูมดอนเรือ

3. นายสุบิน แสงสระคู วุฒิการศึกษา ค.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการ วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนธงธานี

4. นายณรงค์ เย็นเพชร วุฒิการศึกษา ค.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการ วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านตา แหลวโนนหมากแงว

5. นางอัมพร ปานจันดี วุฒิการศึกษา ค.ม. (วิจัยและประเมินผลทางการ ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนสุวรรณ ภูมิวิทยาลัย

9. คัดเลือกข้อค าถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence : IOC) ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป ซึ่งพบว่ามีข้อค าถามผ่านเกณฑ์ทั้ง 70 ข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 จากนั้นน าแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try Out) เพื่อหาคุณภาพของแบบสอบถาม โดยน าไป ทดลองใช้กับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมาเขต 4 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน

10. วิเคราะห์หาค่าอ านาจจ าแนก ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง คะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item Total Correlation) โดยใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อค าถามที่

ค่าอ านาจจ าแนกมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05 (เกณฑ์พิจารณาคัดเลือก คือ 0.306) (ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2561) พบว่า สภาพปัจจุบันมีค่าอ านาจจ าแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.315 ถึง 0.896 และสภาพที่พึง ประสงค์มีค่าอ านาจจ าแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.556 ถึง 0.903 ซึ่งข้อค าถามผ่านเกณฑ์ทั้ง 70 ข้อ 11. วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) โดยใช้เกณฑ์พิจารณายอมรับค่าความ เชื่อมั่นตั้งแต่ 0.80 ขึ้นไป (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2540) ซึ่งพบว่า สภาพปัจจุบันมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.975 และสภาพที่พึงประสงค์มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98

81 12. น าแบบสอบถามจัดพิมพ์เป็นฉบับจริง เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม ตัวอย่าง จ านวน 270 คน